|
บทคัดย่อ/Abstract |
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัมนาเว็บเควสท์ หน่วย ปากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอวกาศให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการเรียนรู้ด้วยเวปเควสท์ หน่วย ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอวกาศ 3) ศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการเรียนด้วยเว็บเควสท์ หน่วย ปากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอวกาศ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้เเก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนนิบงชนูปถัมภ์ จังหวัดยะลา ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 โดยวิธีการสุ่มอย่างง่ายจำนวน 87 คน โดยแบ่งเป็น 1) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้การทดสอบหาประสิทธิภาพของเว็บเควสท์ หน่วย ปากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอวกาศ จำนวน 42 คน 2) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้การหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความคงทนในการเรียนรู้ และความพึงพอใจของผู้เรียนด้วยเว็บเควสท์ หน่วย ปากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอวกาศ จำนวน 45 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ 1) เว็บเควสท์ หน่วย ปากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอวกาศ 2) แบบประเมินเว็บเควสท์โดยผู้เชี่ยวชาญ 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4) แบบประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่ป่านการเรียนด้วยเว็บเควสท์ 5) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้เว็บเควสท์ ผลการวิจัยพบว่า 1) เว็บเควสท์ หน่วย ปากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอวกาศ ปีประสิทธิภาพเท่ากับ 85.33/84.50 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่เรียนด้วยเว็บเควสท์ หน่วย ปากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอวกาศหลังเรียน (x=17.02,S.D.=2.86) สูงกว่าก่อนเรียน (x=16.27 S.D.=3.06) 3) ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยเว็บเควสท์ หน่วย ปากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอวกาศเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด
The purposes of this study were (1) to develop the Webquest on World`s Phenomenon and Space Technology with efficiency of 80/80, (2) to study the learning achievement and students` learning retention after studying with the Webquest on World`s Phenomenon and Space Technology, (3) to study the students` learning satisfaction of the Webquest on World`s Phenomenon and Space Technology. The subjects of this study were 87 students selected by the Simple Random Sampling method from Pratomsuksa Six Students at Nibongchanupatum school, Yala province in the second semester of academic year 2011. All subjects were divided into 2 groups for treatment as follows: (1) 42 students for try-out, and (2) 45 students for testing learning achievement, learning retention, and learning satisfaction. The study instrument were (1) the Webquest on World`s Phenomenon and Space Technology, (2) a rubric for evaluating Webquest by speacialist, (3) learning achievement test, (4) learning satisfaction questionaire and (5) lesson plans on Webquest on World`s Phenomenon and Space Technology. The conclusions were as follows: (1) the efficiency of Webquest on World`s Phenomenon and Space Technology was 85.33/84.50, (2) there was significantly higher learning achievement of the students in the posttest (X = 17.02 , S.D. = 2.86) than in the pretest (X = 10.38, S.D. = 2.85) at .01 levels, after two weeks the learning retention of students was reduced (X = 16.27 , S.D. = 3.06) and (3) the students` learning satisfaction was at a very good level. |