ชื่อเรื่อง/Title รูปแบบและยุทธศาสตร์การจัดการสังคมสมบูรณ์แบบในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ / Model and Strategic Management for Comprehensive Societies in Three Southern Border Provinces
     บทคัดย่อ/Abstract การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์รูปแบบ และยุทธศาสตร์การจัดการสังคมสมบูรณ์แบบ โดยศึกษากรณีตัวอย่างในหมู่บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา และหมู่บ้านบ้านปิยะมิตร กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ผู้นำชุมชนของหมู่บ้านจุฬาภรณ์พัฒนาที่ 6,9,10,12 และหมู่บ้านปิยะมิตร 1,2,3, และ 4 จำนวน 8 หมู่บ้าน การเก็บข้อมูลใช้การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ และ ประชุมสัมมนาผู้เกี่ยวข้อง ระดมความคิดเห็น นำข้องมูลวิเคราะห์ โดยอาศัยเหตุผลเชิงคุณภาพ ผลการวิจัยสรุปผลดังนี้<br /> 1.รูปแบบของการจัดการสังคมสมบูรณ์แบบ มีองค์ประกอบดังนี้ 1) ผู้นำที่มีประสิทธิภาพ 2) ชุมชนมีอดมการณ์แนวคืด หลักการ 3)การมีส่วนร่วมของสมาชิกในชุมชน 4)มีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 5)มีการพัฒนาอาชีพ และ 6)มีการพัฒนาคุณภาพชีวิต องค์ประกอบเหล่านี้ทำให้ชุมชนเข้มแข็งและสามารถที่จะพัฒนาให้เจริญก้าวหน้าเป็นสังคมสมบูรณ์แบบ<br /> 2)ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาหมู่บ้าน ประกอบไปด้วย 1) ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาศักยภาพคนและสังคม 2)ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาระบบนิเวศและสภาพแวดล้อม 3)ยุทธศาสตร์การพัฒนาการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายในการแก้ไขปัญหาและร่วมพัฒนา และ 4)ยุทธศาสตร์ในการบริหารจัดการ<br /> ข้อเสนอแนะเพื่อนำผลการวิจัยไปใช้ คือ รูปแบบชุมชนควรมีความเหมาะสมและสอดคล้องกับบริบททั่วไปของท้องถิ่น และต้องกำหนดยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาให้เป็นชุมชนเข้มแข็งและยั่งยืนดังผลของการวิจัยที่กล่าวถึง ซึ่งอาจเป็นต้นแบบในการพัฒนาหมู่บ้านอื่น ๆ ต่อไป<br />

This research was intended to analyze the model and strategies for comprehensive societies in the Chulapornpattana Villages Project and the Piyamit Villages Project. The samples were local leaders and the members of the eight villages, and related persons in the project. The data collected by in-depth interview and seminar technique, the data analyzed by rational qualitative analysis. The results were: 1. The model of the comprehensive societies was composed of 1) effective leaders 2) philosophical idea and principles 3) group cohesiveness and participation 4) the development of basic infrastructures 5) the career development and 6) the development for quality of life. These factors were effected to the strengthen of community or their villages, and could be the sustainable factors for comprehensive societies. 2. The strategies for community development were 1) the strategy for human resource and social development, 2) the strategy for development in ecology system and the environments 3) the strategy for participation development of the members and other agencies in solving problems and 4) the strategy for management.<br /> The researchers proposed for results implement that the community model should be suitable and related with the local context. The community should have the strategies for the strength and sustainment as the research findings. The model and strategic management could be imptemented for
     ผู้ทำ/Author
Nameชุมศักดิ์ อินทร์รักษ์
Organization มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะศึกษาศาสตร์
Nameไพฑูรย์ พัฒน์ใหญ่ยิ่ง
Organization มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์
Nameอุทัย เอกสะพัง
Organization มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์
Nameอ้อมใจ วงษ์มณฑา
Organization มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา
     เนื้อหา/Content
บทความ
     กลุ่มหัวเรื่อง: ด้านการเมืองการปกครอง
--นโยบายการปกครอง
--การมีส่วนร่วมทางการเมือง
     Publisher:
Name:มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
Address:ปัตตานี (Pattani)
     Year: 2548
     Type: บทความ/Article
     Copyrights :
     Counter : 3048
     Counter Mobile: 30