ชื่อเรื่อง/Title Multicultural Education for Thailand / การศึกษาหลากหลายวัฒนธรรมสำหรับประเทศไทย
     บทคัดย่อ/Abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ช่วยส่งเสริม เเละ/หรือขัดขวางความปรองดองเเละความสามัคคีของประชาชนที่อาศัยอยู่ในจังหวัดชายเเดนภาคใต้ของประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยประชาชน 900 คน เเละนักเรียน 540 คน จากจังหวัดปัตตานี ยะลาเเละนราธิวาส เครื่องมือที่ใช้เเบบสอบถามเเละเเบบวัดความรู้สึกที่มีต่อตนเอง ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้<br /><br /> 1) ความกลัวของประชาชนเเละนักเรียนโดยรวมอยู่ในระดับต่ำ<br /><br /> 2) ความสามัคคีเเละความไว้วางใจของประชาชนเเละนักเรียนโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง<br /><br /> 3) เจตคติของประชาชนที่มีต่อข้าราชการเเละครูในลักษณะที่ไม่เเน่ใจ<br /><br /> 4) นักเรียนมีวามไว้วางใจครูต่างศาสนาน้อยกว่าครูที่นับถือศาสนาเดียวกัน เเต่มีความเห็นว่า ครูปฏิบัติต่อนักเรียนทุกคนเท่าเทียมกัน<br /><br /> 5) ความเห็นของนักเรียนในประเด็นที่โรงเรียนยอมรับความเเตกต่างทางความเชื่อ ประเพณี เเละวัฒนธรรมเเตกต่างจากประชาชน<br /><br /> 6) ประชาชนเเละนักเรียนเห็นว่าผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา เเละครูยอมรับความเเตกต่างทางความเชื่อในทางศาสนา<br /><br /> 7) ความกลัว ความสามัคคีเเละความไว้วางใจของประชาชนเเละของนักเรียนมีความเเตกต่างตามตัวเเปรส่วนใหญ่ที่นำมาศึกษา<br /><br /> 8) ผลการเปรียนเทียบความรู้สึกที่มีต่อตนเองของนักเรียน เเสดงให้เห็นว่า ความรู้สึกที่มีต่อตนเองของนักเรียนที่มีต่อเพศ ศาสนา ระดับการศึกษาเเละประเภทของโรงเรียนที่เเตกต่างกันมีความเเตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ<br /><br /> คำสำคัญ : ความหลากหลายวัฒนธรรม, ความสามัคคี, ความกลัว, เจตคติ, ความไว้วางใจ, ความรู้สึกที่มีต่อตนเอง

The purpose of this study was to identify the factors which facilitate and/or inhibit the cultural hamony and social cohesion of the people living in the southern border provinces of Thailand. The sample consisted of 900 adults and 540 students from Pattani, Yala and Narathiwat. The instruments used were the questionnaires and the Coopersmith Inventory. The major findings were as follow:<br /> 1) The overall fear of the adults and the students was relatively low. 2) The social cohesion and the trust of both the adults and the students overall were moderate. 3) The adult's attitudes toward government officials and teachers were unsure. 4) The students had less trust in teachers of other religions although they agree that teachers treated all children fairly. 5) The students' views on schools recognising differences in beliefs, customs and cultures were different from adults. 6) Both the adults and the students agreed in tolerance of defferent religious beliefs among comunity leaders, religious leaders and teachers. 7) The fear, the social cohesion and the trust of the adults and the students were mostly significantly different when compared by the variables used in this study. 8) The comparison of self-esteem of the students showed that the self-esteem of the students with different gender, religion, school level and school type was significantly different.<br /> Keywords : multiculturalism, cultural harmony, social cohesion, attitude, fear, trust
     ผู้ทำ/Author
NameAnan Tipparat
Organization Prince of Songkla University Faculty of Education
NameTheeraphong Kaenin
Organization Prince of Songkla University Faculty of Education
NameMarut Damcha-om
Organization Prince of Songkla University Faculty of Education
NamePongsri Vanitsupavong
Organization Prince of Songkla University Faculty of Education
NameTiennan Vanitsupavong
Organization Prince of Songkla University Faculty of Education
NameSuthep Suntiwaranon
Organization Prince of Songkla University Faculty of Education
NameIan Birch
Organization Coordinators and Advisors, University of Western Australia
NameMike Lally
Organization Coordinators and Advisors, University of Western Australia
     เนื้อหา/Content
Article
     กลุ่มหัวเรื่อง: วิถีชีวิตและประเพณี
     Publisher:
Name:Prince of Songkla University, Pattani Campus
Address:Pattani
     Year: 2543
     Type: บทความ/Article
     Copyrights :
     Counter : 2687
     Counter Mobile: 46