ชื่อเรื่อง/Title การพัฒนาชุดคอมพิวเตอร์ฝึกอบรม เรื่อง การประดิษฐ์เข็มกลัดดอกกุหลาบจากใบยางพารา / The Development of Computer-Based Training Package on Making Rose Brooches from Rubber Leaves
     บทคัดย่อ/Abstract วัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของชุดคอมพิวเตอร์ฝึกอบรม เพื่อหา ประสิทธิผลทางการอบรมและควมพึงพอใจของกลุ่มแม่บ้าน รวมทั้งทำการประเมินผลการ ประดิษฐ์เข็มกลัดดอกกุหลาบจากใบยางพารา 2)แบบทดสอบ 3)แบบสอบถามความพึงพอใจ ของกลุ่มแม่บ้าน และ4) แบบประเมินผลการประดิษฐ์เข็มกลัดดอกกุหลาบจากใบยางพารา กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย กลุ่มแม่บ้านตำบลนาเกตุ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จำนวน 30 คน ผลการวิจัยพบว่า ชุดคอมพิวเตอร์ฝึกอบรมพัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพ 81.60/81.58 สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 เมื่อนำคะแนนก่อนฝึกอบรมและคะแนนหลังฝึกอบรมมา วิเคราะห์เพื่อหาประสิทธิผลพบว่า คะแนนหลังฝึกอบรมมีค่าเท่ากับ 81.58 และคะแนน ก่อนฝึกอบรมมีค่าเท่ากับ 19.42 แสดงว่า ชุดคอมพิวเตอร์ฝึกอบรมที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพ ด้านฝึกอบรมเพิ่มขึ้นร้อยละ 62.17 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ คือร้อยละ 60 ส่วนความพึงพอใจ ของกลุ่มแม่บ้านที่มีต่อชุดคอมพิวเตอร์ฝึกอบรมจัดอยู่ในระดับมาก (X=4.62) นอกจากนี้ ผลการ ประเมิน (X=3.83) การประดิษฐ์เข็มกลัดดอกกุหลาบจากใบยาพาราของกลุ่มแม่บ้านโดยเฉลี่ย ถูกต้อง สมบูรณ์ตามตัวอย่างคิดเป็นร้อยละ 75 หรือ 75% ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า ชุดคอมพิวเตอร์ฝึก อบรมที่พัฒนาขึ้นช่วยให้กลุ่มแม่บ้านสามารถนำไปใช้ศึกษาได้ด้วยตนเอง

The purposes of the research were to develop a computer-based training package (CBT package), to frod out efficiency, effectiveness, and the group of housewives' satisfaction towards the package, and to evaluate rose brooches making from rubber leaves. Research tools were: 1) the computer-based training package on making rose brooches from rubber leaves, 2) achievement tests, 3) questionnaire on the group ofhousewives' satisfaction, and 4) an evaluation forms on rose brooches making. A sampling group of 30 persons was the group of housewiv{'s at Tumbol Naket, Amphur Khokpho, Pattanee province. The research results revealed that the efficiency of the computer-based training package was at 81.60/81.58, which was higher than 80/80 as already identified by criteria. The analyses of pre-test and post-test scores were at 19.42 and 81.58 respectively. Therefore, the computer-based training package could increase the learning effectiveness to 62.17%, which met the criteria set of 60%. The mean score of the group of housewives' satisfaction was rather at a high level (X = 4.62). According to the evaluation on rose brooches making ofthe group of housewives, it was found that the mean scores (X = 3.83) was 75% correct, and perfect example. Thus, the computer-based training package on making rose brooches from rubber leaves could be used as a self-study.
     ผู้ทำ/Author
Nameจัตตุลักษณ์ เทียมแก้ว
Organization มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. สำนักหอสมุด.
     เนื้อหา/Content
วิทยานิพนธ์ฉบับเต็มจากฐานข้อมูล TDC
     กลุ่มหัวเรื่อง: ยางพารา
     Contributor:
Name: กัลยาณี จิคต์การุณย์
Roles: อาจารย์ที่ปรึกษา
     Publisher:
Name:มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
Address:
     Year: 2552
     Type: วิทยานิพนธ์/THESES
     Copyrights :
     Counter : 847
     Counter Mobile: 30