ชื่อเรื่อง/Title การศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้สารเพิ่มสภาพพลาสติกที่ทำจากน้ำมันเมล็ดยางพาราสำหรับพีวีซี / Feasibility Study on Using Plasticizer from Rubber Seed Oil for PVC
     บทคัดย่อ/Abstract งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์?เพื่อที่ จะศึกษาความเป?นไปได?ในการดัดแปลงน้ำมันเมล็ดยางพารา เพ ื่อใช?เป?น สารเพ ิ่ มสภาพพลาสติกสําหรับพอลิไวนิลคลอไรด? โดยศึกษาสภาวะท ี่เหมาะสมในการทําปฏิกิริยา อีพอกซิเดชัน เพ ื่อเปลี่ ยนหมู?ฟ?งก?ชันในโมเลกุลน้ำมันจากพันธะคู?ไปเป?นหมู?อีพอกไซด? จากนั้นจึงนำ น้ำมันดัดแปรที่ได?ไปผสมกบพอลิไวนิลคลอไรด?เรซินและสารเติมแต่งอื่นๆแล?วทำการขึ้นรูปชิ้นงาน เพ ื่อทดสอบสมบัติเชิงกล โดยสารตั้ งต?นท ี่ใช?ในการทําปฏิกิริยาอีพอกซิเดชัน ได้แก? ?กรดอะซิติกและ ไฮโดรเจนเปอร?ออกไซด? ซึ่งจะทําปฏิกิริยากันได?เป?นกรดเปอร?อะซิติกข ึ้นในระบบ โดยได? ทําการศึกษาผลกระทบของตัวแปรต?างๆ ในการทําปฏิกิริยา เช?น ปริมาณสารต ั้ งต?น อุณหภูมิและเวลา ที่ใช?ในการทําปฏิกิริยา ที่มีต?อ ปริมาณหมู่แทนที่ซึ่งวเคราะห ิ ?จากค?า Oxirane oxygen ค?า Iodine value และค?าความหนืด ผลจากการศึกษาพบว?าสภาวะทเหมาะสมท ี่ ี่สุดที่ทําให?ได?น้ำมันผสมอีพอกซิไดส?ที่มี ค?า Oxirane oxygen สูงสุดคือ การใช?อัตราส?วนของน้ำมันผสมระหวางน น้ำมันเมล็ดยางพารากับน้ำมันปาล?มเท?ากับ 6:4 และใช?อัตราส?วนพันธะคู?ในน้ำมันต?อกรดอะซิติกตอไฮโดรเจนเปอร ? ?ออกไซด?เทาก? ับ 1 : 0.8 : 3.2 โดยโมล อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส เป?นเวลา 8 ชั่วโมง เม ื่อนําน้ำมันดัดแปรที่ได?มา ผสมกับพอลิไวนิลคลอไรด? ในเครื่ องผสมแบบลูกกลิ้งคู?ที่อุณหภูมิ 145 องศาเซลเซียส แล?วทําการ ขึ้นรูปในเครื่องอัดไฮโดรลิกที่อุณหภูมิ 150 องศาเซลเซียส ก?อนนําชนงานไปทดสอบสมบ ิ้ ัติต?านทาน แรงดึงพบว?าค?าการต?านทานแรงดึง ค?าการยืดตัว และค?าโมดูลัสของพอลิเมอร?จะมีแนวโน?มลดลงเม ื่ อมี ปริมาณน้ำมันเมล็ดยางพาราผสมกับน้ำมันปาล?มอีพอกซิไดส?เติมเข?าไปแทนที่ สารเพมสภาพพลาสต ิ่ ิก DOP มากขึ้น ในขณะที่การเติมน้ำมันถ ั่วเหลืองอีพอกซิไดส?เข?าไปแทนที่ DOP จะให?ค?าการทนแรงดึง และค?าการยดตื ัวท ี่ไม?เปลี่ยนแปลง ไม?ว?าจะใช?สัดสวนผสมเท?าไรก็ตาม ผลที่ได?ชี้ให?เห็นว?าน้ำมันค เมล็ดยางพาราผสมน้ำมันปาล?มอีพอกซิไดส?ที่เตรียมได?ในงานวิจัยนี้ยังไม?สามารถทําหน?าท ี่เป?นสาร เพ ิ่มสภาพพลาสติกในพอลิไวนิลคลอไรด?ได? โดยเชื่ อว?าอาจจะมีสาเหตุเกี่ยวข้องกับสภาพขั้วของ โมเลกุลน้ำมันเมล็ดยางพาราดัดแปรที่ยังไม?สูงพอ

This research aims to investigate a feasibility of modifying natural rubber seed oil in order to utilize the modified oil as a plasticizer for poly(vinyl chloride)(PVC). An optimum condition for carrying out an epoxidation to convert unsaturated double bonds in the rubber seed oil molecules into epoxide groups is of interested. After that, the epoxidized rubber seed oil (ERSO) was blended with poly(vinyl chloride) and then fabricated into test pieces for mechanical testing. Epoxidation of rubber seed oil was carried out by using peracetic acid, which was generated in situ from a reaction between acetic acid and hydrogen peroxide. Effects of reaction variables such as amount of starting reagents, time and temperature on Oxirane oxygen value, Iodine value and viscosity of products were investigated. It was found that an optimum condition corresponding to ERSO with a maximum Oxirane oxygen is that involving the use of mole ratio of unsaturation : acetic acid : hydrogen peroxide of 1 : 0.8 : 3.2 , at a reaction temperature of 60?C for 8 hours. After that, the epoxidation rubber seed oil was then blended with poly(vinyl chloride) resin and relevant additives on a two-roll mill at 145?C and then fabricated in a hydraulic compression mould at 150?C . From tensile testing, it was found that strength, elongation and modulus of PVC compounded with ERSO decreased with increasing the ERSO content. On the other hand, tensile strength and elongation of PVC compounded with an epoxidized soybean oil (ESO) did not change with the ESO content. These results indicated that the ERSO obtained from this work can not function as an effective plasticizer for PVC. It was believed that this was attributed to an insufficient polarity of the ERSO
     ผู้ทำ/Author
Nameประภาพรรณ จิตรีเที่ยง
Organization มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
     เนื้อหา/Content
วิทยานิพนธ์ฉบับเต็มจากฐานข้อมูล TDC
     กลุ่มหัวเรื่อง: ยางพารา
     Contributor:
Name: จตุพร จุฒิกนกกาญจน์
Roles: อาจารย์ที่ปรึกษา
     Publisher:
Name:มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
Address:
     Year: 2546
     Type: วิทยานิพนธ์/THESES
     Copyrights :
     Counter : 695
     Counter Mobile: 41