ชื่อเรื่อง/Title การควบคุมโรคเส้นดำของยางพาราโดยใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มา
     บทคัดย่อ/Abstract เพื่อหาวิธีควบคุมโรคเส้นดำของยางพาราได้อย่างทันต่อความเสียหายที่ได้รับจึงได้จัดระดับอาการดรคเส้นดำของยางพาราเป็น4ระดับคือระดับL0หน้ายางไม่เนาเลยระดับอาการL1หน้ายางเน่า1-10%ระดับอาการL2หน้ายางเน่า10.1-20%ระดับอาการL3หน้ายางเน่าเกิน20%ของพื้นที่รอบกรีดทั้งหมดวางแผนการทดลองแบบRCDBโดยฉีดพ่นเชื้อราไตรดคเดอร์มาเปรียบเทียบกับสาร เมตาแลกซีน,ฟอสไฟท์และน้ำลงไปในทุกระดับอาการโรคกระจายอยุ่ในแปลงยางพาราพันธ์RRIM 600 อายุ15-20ปีโดยฉีดพ่น4ครั้งแต่ละครั้งห่างกัน1เดือนวัดผลโดยการวัด%หน้ายางเน่าที่เพิ่มขึ้น หลังจากฉีดพ้นครั้งสุดท้าย1เดือนพบว่ามีระดับอาการต้นยางที่ไม่เน่าเลย(L0)เน่าเพิ่มขึ้นเฉลี่ย10.38,8.22และ8.53%ตามลำดับส่วนต้นยางหน้าที่ยางเน่าเฉลี่ยไม่เกิน10%นั้นหลังฉีดพ่นจะเน่าเพิ่มขึ้นเฉลี่ย1.14,0.05,8.08และ11.43%ตามลำดับส่วนต้นยางที่เน่าตั้งแต่10.1%ขึ้นไปและไม่เกิน20%ของพื้นที่รอยกรีดหลังแีดพ้นจะเน่าเพิ่มขึ้นเฉลี่ย4.34,1.75,2.31และ5.17%และที่ระดับอาการโรคสูงสุดคือหน้ายางเน่าเกิน20%แล้วพบว่าที่หลังฉีดพ่นจะเน่าเพิ่มขึ้นเฉลี่ย11.750,14.88และ21.13%ซึ่งในทุกระดับอาการหลังฉีดพ่นด้วยไตโคเดอร์มา,เมตาแลกซีน,ฟอสไฟท์และน้ำให้ผลไม่แตกต่างกันทางสถิติแบบที่พบว่าที่ระดับอาการL0,L1,L2และL3หลังฉีดพ้นด้วยไตโคเดอร์มา,เมตาแลกซีน,ฟอสไฟท์และน้ำแล้วหน้ายางเนาเพิ่มขึ้น8.79,5.17,3.39และ11.94%ตามลำดับโดยพบว่าการใช้เมตแลกซีนมีผลทำให้หน้ายางเน่าเพิ่มขึ้นน้อยที่สุดในทุกระดับอาการโรคอย่างมีนัยสำคัยทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น95%ในขระที่ไตรโครเดอร์มาสมารถยับหยั้งการเน่าบนรอยรีดที่เน่ามากกว่า20%ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเช่นเดียวกัน

This expt!riment was conducted in 15-20 years old of rubbe.r trees (RRlM600) near Chantaburi campus. The objective was to control black stripe rot disease at tapping panels before losses. provided the diseases into 4 levels of rotting, LO not showed rotting symptom , L1 showed rotting 1- 10% of tapping panels area, L2 showed rotting 10.1-20% of tapping panels area and L3 showed rotting more than 20% of tapping panels area. Randomized completed block design in 4 treatments with Trichoderma. metalaxyl phosphyte and tap water was a checked treatment, 4 repikations. four times of spraying applicatiotl at 1 month intervaJ. The result was checked after I month of the last application by measuring the % rolting increased after treating. At LO found % rot increased 10.38, 8.06 ,8.22 , and 8.53 % res;",ectively. At Ll level found % rot increased 1.14, 0.05,8.08 and 11.43 % respectively . At L2 found % rot increased 4.34, 1.75. 2.31 and 5.17 % respectively. At L3 foud% rot increased 11.75, 0, 14.88 and 21.13 % respectively, non significant dilTerent between treatments in all levels of rotting. There was significant difference at 95 % when compared % rotting before and after treated by t-test paired two fond, at the leve! LO, Ll , L2 and L3 , % rot increased 8.79, 5.17, 3.39 and 11.94 %, respectively. The metalaxyL showed significant to decreased rotting symptom more than other treated at all levels of rotting, meanwhile Trichoderma can decreased % rott ing at L3 level significantly
     ผู้ทำ/Author
Nameอรดี พินิจไพฑูรย์
Organization มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
     เนื้อหา/Content
วิทยานิพนธ์ฉบับเต็มจากฐานข้อมูล TDC
     กลุ่มหัวเรื่อง: ยางพารา
     Publisher:
Name:มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
Address:
     Year: 2553
     Type: งานวิจัย/Research Report
     Copyrights :
     Counter : 1391
     Counter Mobile: 35