|
บทคัดย่อ/Abstract |
งานวิจัยนี้เป้นการศึกษาผลกระทบในด้านกำลังอัดและปริมาณการแทนที่ของเถ้าขี้เลื่อยไม้ยางพาราของมอร์ตาร์โดยนำเถ้าขี้เลื่อยไม้ยางพาราที่ผ่านการอบน้ำยากันความชื้นและเถ้าขี้เลื่อยไม้ยางพาราที่ไม่ผ่านการอบน้ำยากันความชื้นแทนที่ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่1บางส่วนในอัตราร้อยละ10 20 30 40 และ50ดดยน้ำหนักวัสดุประสานทั้งนี้จะแปรเปลี่ยนอัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสานw(C+R)เท่ากับ0.550,0.610,0.600,0.630,และ0.640ตามลำดับและเปรียบเทียบกับมอร์ตาร์มาตรฐานของปูนซีเมนปอร์ตแลนด์ประเภทที่1โดยนำไปแช่ในน้ำประปาเป็นเวลา3,7,14,28วันตามลำดับผลการสึกษาในด้านการกำลังยัดพบว่ามอร์ตาร์ของปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่1ที่ผสมเถ้าขี้เลื่อยไม้ยางพาราทุกส่วนผสมและทุกที่อายุการทดสอบจะให้ค่ากำลังอัดต่ำกว่ามอร์ต้าร์มาตรฐานและเมื่อปริมาณการแทนที่เถ้าขี้เลื่อยไม้ยางพาราร้อยละของวัสดุประสานเพิ่มมากขึ้นจำทำให้ค่ากำลังอักต่ำลงดดยมอร์ต้าร์ที่ผสมเถ้าขี้เลื่อยไม้ยางพาราที่ผ่านกา่รอบน้ำยากันความชื้นร้อยละ10ของน้ำหนักวัสดุประสาน(R10N)และมอร์ต้าร์ที่ผสมผสานเถ้าขี้เลื่อยไม้ยางพาราทีีไม่ผ่านการอบน้ำยากันความชื้นร้อยละ10ของวัสดุประสาน(R10N)มีค่ากำลังอัดเท่ากับ245.98กก./ซม.2และ245.60กก./ซม.2ใกล้เคียงกับมอร์ตาร์มาตรฐานมากที่สุดหรือคิดเป็นร้อยละกำลังอัดเทียบกับมอร์ต้าร์มาตรฐานเท่ากับ85.93และ58.80ตามลำดับ
This research is a study of compressive force and quantity of replacement of rubber sawdust of mortar. The methods were consequently done as follows. Firstly, two materials were mixed : rubber sawdust dried through moisture resistant chemical and rubber sawdust that was not dried through moisture resistant chemical. Portland cement Type I was partly replaced by the latter with the ratio of compound weight at 10%,20%,30%, 40% and 50%. Accordingly the ratio of water and the compound material W/(C+R) was respectively changed in to 0.550,0.610,0.610,0.630and 0.640. this was compared with the standard mortar of Portland cement Type1 by emerging in water for 3,7,14,28 and 60 days. The findings indicated that the mixture between mortar of Portland cement Type1 and the rubber sawdust at every rate and period of testing gave less value compressive force that the standard mortar . Moreover, when the amount of the sawdust with percentage of compound material increased, the compressive force decreased. The mortar of rubber sawdust dried though moisture resistant chemical with 10% of compound material (R10C) and the mortar of rubber sawdust that was not dried through moisture resistant chemical with 10% of compound material (R10N) resulted in compressive force of 245.98 kg/cm2 and 245.60kg/cm2. This gave the closest value to the standard mortar with the percentage of 85.98 and 85.80 respectively. |