ชื่อเรื่อง/Title การปลูกพืชร่วมแบบผสมผสานเพื่อการเสริมรายได้ และการมีกิจกรรมอื่นๆในช่วงว่างงานระหว่างที่ต้นยางพารายังไม่ให้ผลผลิตในช่วงฤดูฝน / Study on kind of plants suitable for intercrop between rows of para rubber in farmer fields during rainy season before pare rubber produce para latex
     บทคัดย่อ/Abstract การปลูกพืชร่วมแบบผสมผสานเพื่อการเสริมรายได้ และการมีกิจกรรมอื่นๆในช่วงว่างงานระหว่างที่ต้นยางพารายังไม่ให้ผลผลิตในช่วงฤดูฝนในเบื้องต้น มีวัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่ม รายให้กับเกษตรกรผู้ปลูกยางพาราในช่วงที่ต้นยางพารายังไม่ให้น้ำยางใน 1 - 5 ปีแรกของการปลูกยางพาราโดยหาชนิดของพืชและพันธุ์พืชปลูกที่ทำรายได้ดี และเหมาะสมกับพื้นที่ของเกษตรกรโดยปลูกพืชแซมระหว่างแถวยางพาราในช่วงฤดูฝน โดยเสนอให้เกษตรกรปลูกข้าวโพดหวานและถั่วเหลืองโดยออกสำรวจพื้นที่ปลูกยางพาราในอำเภอต่างๆของจังหวัดลำปาง โดยขอข้อมูลต่างๆ จากเจ้าหน้าที่เกษตรลำปาง และเจ้าหน้าที่กองทุนสวนยางประจำจังหวัดลำปาง และองค์การบริหารส่วนตำบลของตำบลต่างๆตามแผนที่วางไว้จะให้เกษตรกรปลูกข้าวโพดหวาน 2 ครั้งใน 1 ฤดูฝน โดยครั้งแรกปลูกในเดือนพฤษภาคม และครั้งที่ 2 ปลูกในเดือนสิงหาคม และปลูกถั่วเหลือง ในเดือนกรกฎาคม ในปีแรกหาพื้นที่ได้ยาก เนื่องจากเจ้าหน้าที่ไม่มีข้อมูลของพื้นที่ปลูกยางพารา และต้องออกไปตระเวนหาพื้นที่ใช้เวลาหลายเดือนเนื่องจากไม่มียานพาหนะ และพื้นที่ ที่เกษตรกร ปลูกยางพาราอยู่ห่างไกลจากถนน ทางเข้าเป็นทางล้อเกวียนถ้าฝนตกทางลื่น และดินอ่อนไม่สามารถเข้าพื้นที่ปลูกได้ มีเพียงที่อำเภอห้างฉัตรปลูกพืชได้ตามแผน แต่ ปี พ.ศ.2548 มีฝนทิ้งช่วงเกือบ 4 สัปดาห์ ในเดือน กรกฎาคม ทำให้ต้นพืชเหี่ยวแห้ง เก็บเกี่ยวผลผลิตไม่ได้ และไม่สามารถเก็บข้อมูลได้ ส่วนรายอื่นๆ ปลูกถั่วเหลืองและข้าวโพดหวานพร้อมกันในเดือนสิงหาคม 2548 และเก็บเกี่ยวผลผลิตขายในรูปของถั่วเหลืองฝักสด ขายกิโลกรัมละ 5 บาท และข้าวโพดต้ม ขาย 3 ฝัก 5 บาท หรือบางรายขายเป็นกิโลกรัมละ 5 บาท ทำให้เกษตรกรมีรายได้จากการปลูกถั่วเหลือง รายละ 4,000 ? 5,000 บาทต่อปี และข้าวโพด 5,000-7,000 บาทต่อปี แต่ไม่สามารถเก็บองค์ประกอบผลผลิตได้เพราะเกษตรกรขายผลผลิตไปแล้วจึงแจ้งให้ทราบแต่ได้ข้อมูลทางสังคม

Study on kind of plant suitable for intercrop between rows of para rubber plant in farmer fields during rainy season before para rubber plants produce Para latex were conducted in Lampung provinces. The objects of this project were increase farmers Mincom during para rubber plants don?t produced latex during para rubber plants don?t produced latex during 1 to 5 first years of para plants. By grow sweet corn and soy bean between rows of para plant. Growing sweet corn 2 times a year. The first sweet corn grown in early June 2006. The 2ndgrown in September 2005 to November 2006. Boiled pods of sweet corn were sold in price 3 pods/5t. Farmers income from sweet corn about 7,000- 9,000 t and Soybean grown in early August 2006. It quite late for growing soybean because soybean is short day plant. They were poorly growth when grown in short light time. And this year there were too much rain fall and poorly distribution. Farmers income from soybean about 4,000-5.000t. Farmer prefer growing sweet corn than soybean. Because growing sweet corn take shorter time than soybean and more easy to sale than soybean. Study para rubber plant growth 2 times a month by measured plant circle at fixed point and plant growth(height ) from the fixed point in 3 conditions of kinds of intercrop plant since October 2005-December 2006. The results showed that growth of para rubber plants in different kinds of intercrop not different in plant height. But para rubbers circle growth which intercrop by sweet corn had bigger than others.
     ผู้ทำ/Author
Nameสุภาพรร สุตาคำ
Organization สถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรลำปาง
Nameวัลลภ พงษ์ยืน
Organization สถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรลำปาง
Nameจำนง ชูด้วง
Organization สถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรลำปาง
Nameเฉลียว นาควานิช
Organization สถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรลำปาง
     เนื้อหา/Content
วิทยานิพนธ์ฉบับเต็มจากฐานข้อมูล TDC
     กลุ่มหัวเรื่อง: ยางพารา
     Contributor:
Name: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา.ห้องสมุด
Roles: สถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรลำปาง
     Publisher:
Name:มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
Address:
     Year: 2549
     Type: งานวิจัย/Research Report
     Copyrights :
     Counter : 907
     Counter Mobile: 34