|
บทคัดย่อ/Abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอทางเลือกและรูปแบบการจัดการน้ำซึ่งอาศัยภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการบนพื้นฐานของการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่ลุ่มน้ำ สายบุรีกรณีศึกษาฝายทดน้ำของชุมชนกาเยาะมาตีอำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส โดยอาศัย การสำรวจ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มย่อยเป็นเครื่องมือในการเก็บ รวบรวมข้อมูล ผลการศึกษาพบว่า ชุมชนกาเยาะมาตีมีการบริหารจัดการน้ำผ่านระบวนการการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนมานานกว่า 50 ป?โดยอาศัยภูมิปัญญาท้องถิ่นบูรนาการองค์?ความรู?ใน การบริหารจัดการน้ำ ด้วยการจัดระบบการลงทุน การก่อสร้าง การจัดสรรผลประโยชน?และการ บำรุงดูแลรักษา ฝายทดน้ำดังกล่าวจึงสามารถอำนวยประโยชน?ให้แก?ชุมชนมาจนถึงทุกวันนี้ โดยปราศจากความขัดแย้งใดๆ ในขณะที่ ผลการศึกษาเปรียบเทียบ กรณีการขุดคลองบาเจาะ เพื่อแก้ไขปัญหาน้ำท่วมขังในตัวเมืองบาเจาะโดยหน่วยงานราชการ ซึ่งไม?ได?ศึกษาผลกระทบ หรือสอบถามความคิดเห็นจากชาวบ้าน ได?สร้างความเดือดร้อนเสียหาย ทั้งในเชิงเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ต่อชุมชนอย่างรุนแรง โดยเฉพาะผู้ที่?ท ี่ ต?องอาศัยน้ำเพื่อการปลูกข้าว (77.8 เปอร์เซ็นต์?) นอกจากน ี้ในการศึกษากลุ่มตัวอย่างจำนวน 300 ครัวเรือน พบว่า ประชาชน ต?องการมีส่วนร่วมในการจัดการน้ำสูงถึง 92 เปอร์เซ็นต์?โดยมากว่าครึ่งหนึ่ง (52.7 เปอร์เซ็นต์?) เชื่อว่าในอนาคตปัญหาน้ำจะสร้างความขัดแย้งให้เกิดขึ้นในชุมชนอย่างแน่นอน และเรียกร้องให้? รัฐเข้ามาบีบมีบทบาทในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่นในการจัดการน้ำอย่างจริงจัง
This research is aimed to present the alternative model for water management, which is based on local wisdom and operated by community participation in Saiburi watershed area. The Gayohmati community?s dam in Bacho District, Narathiwat Province, was selected to be a case study. Data collection involved a survey, questionnaires, interviews and group discussion. The findings showed that the Gayohmati community has utilized a community-led water management method for over 50 years. Through the integration of local wisdom and knowledge in water management, investment system, construction, allocation, and maintenance, the Gayohmati community has effectively operated the dam for their benefits without any conflict. On the other hand, a comparative case study with the government?s digging project of the Bacho Canal to solve the flood problem in downtown Bacho revealed that the project has caused severe economic, social and environmental damages to the community, especially to the farmers (77.8%) who need the water from the canal for their rice plantation. This is due to the lack of the study of the project drawbacks and of the survey of public opinions about the project. According to the study of 300 household samples, 92% expressed the need to take part in water management, and more than half of the samples (52.7%) were concerned for the future water utilization which, they believed, will lead to the community conflict. In this case, they suggested that the government should take action in supporting community involvement in water management. |