|
บทคัดย่อ/Abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสถานการณ?ด้านการผลิตของอุตสาหกรรมไม?ยางพารา แปรรูปในจังหวัดสงขลาและศึกษาสภาพปัญหาในด้านการผลิตของอุตสาหกรรมไม?ยางพาราในจังหวัด สงขลาและเสนอยุทศาสตร์?การเพิ่มความสามารถในการผลิตของอุตสาหกรรมไม?ยางพาราใน จังหวดสงขลา ั กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้?วิจัยได?กำหนดกลุ่มตัวอย่างในการทำวิจัยเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มบุคลากรในโรงงานอุตสาหกรรม ยางพาราแปรรูปในจังหวัดสงขลากลุ่มตัวอย่างที่ใช้?ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้?วิจัยได?กำหนดกลุ่มตัวอย่างในการทำวิจัยเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มบุคลากรในโรงงานอุตสาหกรรม ยางพาราแปรรูปในจังหวัดสงขลา โดยแบ?งออกเป็นระดับ บริหารและระดับปริญญาตรี และกลุ่มผู้ที่เกี่ยวข้อง กับอุตสาหกรรมไม?ยางพาราแปรรูป การคัดเลือก กลุ่มตัวอย่างสำหรับบุคคลากรในโรงงานอุตสาหกรรมไม?ยางพาราในจังหวัดสงขลา คัดเลือกจากระดับ ผู้บริหารตามประเภทของโรงงานโดยใช้เกณฑ์?แรงม?าของเครื่องจักร ประเภทละ 3 ราย รวมจำนวน6 ราย และระดับปฏิบัติการ จำนวน 54 ราย จากการสุ่มตัวอย่าง จำนวน 63 ราย และกลุ่มตัวอย่างผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมไม?ยางพาราจำนวน 3 ราย งานวิจัยนี้ศึกษาขีดความสามารถและสภาพทั่วไปในการผลิตของอุตสาหกรรมไม้ยางพารา แปรรูปของจังหวัดสงขลา ตลอดจนศึกษาถึงปัจจัยต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อขีดความสามรถด้านการผิต และนโยบายของหน่วยงานรัฐบาลมีผลตอการพัฒนาอุตสาหกรรมไม้ยางพาราแปรรูป โดยอาศัยสถิติอย่างง่ายเช่น ค่าเฉลี่ย ร้อยละ เป็นต้น สรุปผลการวิจัยออกเป็นยุทธศาสตร์ได้ดังนี้ ยุทธศาสตร์?การจัดหาวัตถุดิบ มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดหาวัตถุดิบให้เพียงพอต่อกระบวนการ ผลิตของอุตสาหกรรม เพื่อส่งเสริมการปลูกยางพาราทดแทนและสร้างอาชีพให้?เกษตรกร และเพื่อ สร้างความเข?ใจแลเกื้อกูลต่อระบบอุตสาหกรรมต้นน้ำและอุตสาหกรรมกลางน้ำยุทธศาสตร์การเพิ่มขีดความสามารถในกระบวนการผลิตของโรงงาน มีวัตถุประสงค์?เพื่อ ลดต้นทุนการผลิต ลดปัญหาการสูญเสียจากกระบวนการผลิต เพื่อเพิ่มพูนความรู้และศักยภาพใน ด้านกระบวนการผลิตแก่ผู้ประกอบการและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการการผลิตของ อุตสาหกรรมยุทธศาสตร์การเพิ่มศักยภาพด้านการตลาดและการส?งออก มีวัตถุประสงค์?เพื่อรักษาระดับ ฐานลูกค้าเดิมและเสริมสร้างความมั่นในดานการตลาดและเพื่อสร้างแนวทางการปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานราชการที่รับผิดชอบกับภาคอุตสาหกรรม ยังพบว่าหากผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรมนำแนวทางยุทธศาสตร์?ดังกล่าวข้างต้นไป ประยุกต์ใช้?กับภาคอุตสาหกรรม น่าจะสามารถเพิ่มขีดความสามารถในการผลิตของอุตสาหกรรม ไม?ยางพาราแปรรูปมากขึ้น
The objectives of this research were: to study the situation of production of processed rubber wood industry in Songkhla Province, to study the state of the problem of production of the said industry, and to propose strategies for enhancement of the production capability of the industry concerned. The research sample was set by the researcher to consist of two groups: a group taken from the personnel of the processed rubber wood industrial plants in Songkhla Province broken down into administrative level and operational level, and a group taken from the people involved in the said industry. In choosing the personnel group for the sample, six administrators were selected by plant type, three per type, on the basis of the horsepower of the machinery of each type. For the operational level, 54 were randomly selected out of 63. The people involved in the said industry were three. The research was to study the capability and general condition of production the processed rubber wood industry in Songkhla Province, and to study various factors affecting the production capability as well as the policies of government agencies that bore upon the development of the said industry, by means of simple statistics such as mean and percentage. The research findings were summarized into strategies as follows. The strategy of raw-material acquisition involved the objectives of securing sufficient raw material for the production process of the industry, of promoting the planting of rubber and creating jobs for agriculturists, and of building up understanding and support of benefit to the system of source industry and one of midway industry. The strategy of capability enhancement in the production process of the industrial plant involved the objectives of production cost reduction and cutting down losses from the production process, of enhancing knowledge and potential in the production process for entrepreneurs, and of enhancement of the efficiency of the production management of the industry. The strategy of enhancement of potentials in marketing and exporting involved the objectives of maintaining an existing level of customer base and building up confidence in marketing, and of establishing joint operational guidelines between government agencies responsible and the industrial sector. If industrial entrepreneurs apply the strategies to the industrial sector, they will probably add more to the production capability of the processed rubber wood industry. |