ชื่อเรื่อง/Title ผลของการใช้นิทานที่มีต่อการรับรู้ความมีระเบียบวินัยของเด็กปฐมวัย / Effects of using story on perception of discipline of young children
     บทคัดย่อ/Abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อการศึกษาการใช้นิทานว่าส่งผลต่อการกับรู้ความมีระเบียบวินัยของเด็กปฐมวัยระหว่างก่อนเเละหลังการใช้นิทานมากน้อยเพียงใด 2)ศึกษาการจัดการประสบการณ์เเบบปกติว่าส่งผลต่อการรับรู้ความมีระเบียบวินัยของเด็กปฐมวัยระหว่างก่อนเเละหลังการจัดการประสบการณ์มากน้อยเพียงใด 3) ศึกษาการใช้นิทานว่าส่งผลต่อการรับรู้ความมีระเบียบวินัยของเด็กปฐมวัยกว่าการจัดประสบการณ์เเบบปกติหรือไม่ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่2 ซึ่งกำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 ของโรงเรียนภัทรีอนุบาล อำเภอรือเสาะจังหวัดนราธิวาส สังกัดสำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จำนวน 50 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการเลือกเเบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยหนังสือนิทานเกี่ยวกับความมีระเบียบวินัย จำนวน 14 เรื่อง เเผนกการจัดประสบการณ์เเบบปกติ จำนวน 14 เเผน เเละเเบบทดสอบวัดการรับรู้ความมีระเบียบวินัย จำนวน 42 ข้อ ซึ่งมีค่าความเชื่อเท่ากับ .96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เเละการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดการประการณ์โดยใช้นิทานมีการรับรู้ความมีระเบียบวินัยหลังการจัดประสบการณ์สูงกว่าก่อนการจัดประสบการณ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05<br /><br /><br /> 2. เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดการประการณ์โดยเเบบปกติมีการรับรู้ความมีระเบียบวินัยหลังการจัดประสบการณ์สูงกว่าก่อนการจัดประสบการณ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. การใช้นิทานส่งผลต่อการการรับรู้ความมีระเบียบวินัยของเด็กปฐมวัยสูงกว่าการจัดประสบการณ์แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

The purposes of this research were to 1) study the effects of using story on perception of discipline of young children; 2X study the effects of using traditional method on perception of discipline of young children; and 3) fine out whether the using story approach induced higher perception of discipline of young children than the traditional method. Thought purposive sampling, the sample consisted of forty-four kindergarten II students enrolled in the school semester of 2011 acdemic year of Pattriya Anuban School in Ampher Reusoh, Narathiwat, under Office of Private Education Commisstion. The story focus on discipline, fourteen lessen plans for the story focus on discipline, foourteen lesson plans for the traditional method, and discipline perception assessment tests consisting of 42 items whose validity was .96, were used in this research. Arithmetic mean, standard deviation, and t-tes were used in data analysis.<br /><br /> The results of study were as follows:<br /><br /> 1. The young children' perception of discipline after using story were higher than before, with statistically significant at .05.<br /><br /> 2. The young children' perception of discipline after using traditional method were higher than before, with statistically significant at .05.<br /><br /> 3. The approsch induced higher perception of discipline on young children than the traditional method, with statistically significant at .05.
     ผู้ทำ/Author
Nameรัชนี หลงขาว
Organization มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. คณะศึกษาศาสตร์
     เนื้อหา/Content
Cover
Abstracts
Acknowledgements
Contents
Chapter1
Chapter2
Chapter3
Chapter4
Chapter5
References
Appendix
Vitae
     กลุ่มหัวเรื่อง: ด้านการศึกษา
--การจัดการศึกษา
     Contributor:
Name: สุวลัย มหากันธา
Roles: ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
     Publisher:
Name:มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
Address:ปัตตานี (Pattani)
     Year: 2555
     Type: วิทยานิพนธ์/THESES
     Copyrights :
     Counter : 2418
     Counter Mobile: 41