ชื่อเรื่อง/Title การวิเคราะห์นิทานพื้นบ้านไทยมุสลิมจังหวัดปัตตานี / An Analysis of Thai Muslim Folktales in Changwat Pattani
     บทคัดย่อ/Abstract การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ 1)เพื่อรวบรวมจำแนกและจัดประเภทข้อมูลนิทานพื้นบ้านไทยมุสลิมจังหวัดปัตตานี ตามรูปแบบของเรื่อง และ 2) เพื่อศึกษาโลกทรรศน์ของชาวไทยมุสลิมจังหวัดปัตตานี จากนิทานพื้นบ้านที่รวบรวมได้เก็บข้อมูลภาคสนาม โดยบันทึกเสียงนิทานเป็นภาษามลายูท้องถิ่นจากวิทยากร ซึ่งมีภูมิลำเนาในจังหวัดปัตตานี และเป็นผู้มีอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 30 คน ผู้แปลนิทานและผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบข้อมูล จำนวน 5 คน ถอดแถบบันทึกเสียงนิทานได้จำนวน 90 เรื่อง นำนิทานทั้งหมดมาคัดเอาเรื่องที่มีเนื้อหาสมบูรณ์ ได้นิทานทั้งหมด 81 เรื่อง นิทานพื้นบ้านไทยมุสลิมจังหวัดปัตตานี จำนวน 81 เรื่อง จำแนกตามรูปแบบได้ 9 ประเภท นิทานที่พบมากที่สุด คือ นิทานคติ รองลงมาคือ นิทานปรัมปรา และนิทานมุขตลก ส่วนที่พบน้อยที่สุด ซึ่งมีเพียง 2 เรื่อง คือนิทานเข้าแบบโลกทรรศน์ที่ปรากฎในนิทานพื้นบ้านไทยมุสลิมจังหวัดปัตตานี พบว่า มี 3 ประเภท คือ โลกทรรศน์ที่มนุษย์มีต่อมนุษย์ โลกทรรศน์ที่มนุษย์มีต่อธรรมชาติ และโลกทรรศน์ที่มนุษย์มีต่อสิ่งเหนือธรรมชาติ โลกทรรศน์ที่มนุษย์มีต่อมนุษย์ เป็นภาพสะท้อนความคิดที่บุคคลมีต่อผู้อื่น และแนวทางการดำเนินชีวิต ได้แก่ โลกทรรศน์ที่บุคคลมีต่อบุคคลโดยทั่วไป โลกทรรศน์ที่บุคคลมีต่อครอบครัวและเครือญาติ โลกทรรศน์ที่บุคคลมีต่อกลุ่มชนและสังคม โลกทรรศน์ที่บุคคลมีต่อสถาบันศาสนาและโลกทรรศน์ที่บุคคลมีต่อผู้ประกอบอาชีพ

The purposes of this research are twofold: (1) to collection, classify and analyse Thai Muslim folktales in Changwat Pattani according to the genre of the tales; and (2) to investingate the worldviews of Thai Muslim people in Changwat Pattani as refleoted in the so-collected folktales.<br /> Malay dialeot by 30 living Muslim informants aged over 35 years, locally born and having lived in Pattani, were tape recorded. Transcription of Malay dialect and translation into Thai were done and cross-checked by five well-qualified, resource persons as data examiners. From 90 transcribed folktales, 81 of them as fully complete were selected for the data analysis.<br /> The findings of the analysis reveal that 9 genres of the folktales are found: fable tales are on the top list; next come the fairy tales and jest tales. Only two are of formula tales being at the bottom of the list.<br /> There streams of worldviews as reflected in Thai Muslim folktales in Pattani can be accounted for, namely the worldviews held by human beings toward other human beings, those held toward nature and those held toward the supernatural.<br /> The worldviews held by human beings toward other human beings, whion are reflected in the concepts of individuals held toward others and as a means of earning a living, include those held by individuals toward others in general, those held toward family kinships, those held toward ethnic groups and society, those held toward religious leaders and toward a variety of occupations.<br /> The worldviews held by human beings toward nature, which are ideas and opinions toward natural resources, include those worldviews held by human beings toward values of the nature and those worldviews held by human beings toward harms from nature.<br /> The worldviews held human beings toward the supernatural, which are the perceptions and concepts relating to the supernatural, include those worldviews held by individuals toward religious beliefs, occultism, spirits and mysteries.<br /> Thai Muslim folktales as the products of folk wisdom and imaginations are the clear manifestations of the social states and Thai Muslim?s ways of life in Pattani. They should be maintained preserved as a cultural heritage for generations to come.
     ผู้ทำ/Author
Nameนุชนาถ เหละดุวี
Organization มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ บัณฑิตวิทยาลัย
     เนื้อหา/Content
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 2 พื้นภูมิแหล่งข้อมูล และวิทยากร
บทที่ 3 การจำแนกนิทานพื้นบ้านไทยมุสลิมจังหวัดปัตตานี
บทที่ 4 โลกทัศน์ชาวไทยมุสลิมจังหวัดปัตตานี... (หน้า 68-99)
บทที่ 4 โลกทัศน์ชาวไทยมุสลิมจังหวัดปัตตานี... (หน้า 100-131)
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
บรรณานุกรม
ภาคผนวก (หน้า 150-184)
ภาคผนวก (หน้า 185-219)
ภาคผนวก (หน้า 220-254)
ภาคผนวก (หน้า 255-289)
ภาคผนวก (หน้า 290-324)
ภาคผนวก (หน้า 325-358)
ประวัติผู้เขียน
     กลุ่มหัวเรื่อง: ศิลปะและวัฒนธรรม
--วรรณกรรม
อิสลามศึกษา
     Contributor:
Name: มัลลิกา คณานุรักษ์
Roles: ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
     Publisher:
Name:มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
Address:ปัตตานี (Pattani)
     Year: 2537
     Type: วิทยานิพนธ์/THESES
     Copyrights :
     Counter : 6422
     Counter Mobile: 49