ชื่อเรื่อง/Title วิธีการดะอฺวะฮฺขององค์กรมุสลิมะฮฺในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้และกรุงเทพมหานคร / The Methodology in Daawah of Muslim Women Organization in Three Southern Border Provinces and Bangkok
     บทคัดย่อ/Abstract วิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การดะอฺวะฮฺของมุสลิมะฮฺในอิสลาม 2) วิธีการดะอฺวะฮฺของอุมมะฮาตอัลมุอมินีนในยุคต้น 3) วิธีการดะอฺวะฮขององค์กรมุสลิมะฮฺในสามจังหวัดชายแดนภาคใต๎และกรุงเทพมหานคร โดยศึกษาเอกสารและศึกษาภาคสนามด๎วยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก เจาะจงแกนนำองค์กรมุสลิมะฮฺในสามจังหวัดชายแดนภาคใต๎และกรุงเทพมหานคร จำนวน 11 คน จาก 6 องค๑กร ได๎แกํ 1) มูลนิธิสภายุวมุสลิมโลก สำนักงานประเทศไทย ฝ่ายกิจกรรมสตรี 2) สมาคมยุวมุสลิมแหํงประเทศไทย เครือข่ายมุสลิมะฮฺยะลา 3) ชมรมสตรีมุสลิมปัตตานี 4) ชมรมมุสลิมะฮฺนราธิวาส 5) กลุ่มบะนาตุลฮุดา (สตรีแห่งทางนำ) 6) กลุ่มอิสลามทอล์ก (คิฏอบุลอิสลาม) นำมาวิเคราะห์ข้อมูลและหาข้อสรุปวิธีการดะอฺวะฮฺโดยวิธีการพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า 1) การดะอฺวะฮฺเป็นสิ่งที่ศาสนาบัญชาใช๎ทั้งมุสลิมีนและมุสลิมะฮฺ ซึ่งหุกุมการ ดะอฺวะฮฺของมุสลิมะฮฺมีหุกุมเดียวกับมุสลิมีน คือ วาญิบ หากแต่นักวิชาการมีความเห็นต่งกันวำเป็นวาญิบที่เป็นฟัรฏูกิฟายะฮฺหรือฟัรฎูอีน มุสลิมะฮฺที่จะเป็นนักเรียกร๎องผู๎คนสูํอิสลามจะต๎องเตรียมพร๎อมตนเองในด้านทฤษฎีและด้านการปฏิบัติ ด้านทฤษฏีประกอบด้วยความรู้ จิตวิญญาณ และสังคม และด้านการปฏิบัติ ได้แก่ การฝึกอบรมกิจกรรมตำงๆ ที่จะเป็นสื่อในการดะอฺวะฮฺ และประการสำคัญยิ่งจะต้องเรียนรู้แนวทางหรือวิธีการในการดะอฺวะฮฺ เชํน หิกมะฮฺ การตักเตือนที่ดี การโต้แย่งด้วยส่งที่ดีกว่า เป็นต้น 2) อุมมะฮาตอัลมุอ๑มินีน คือ บรรดาสตรีที่ท่านนบี ได้สมรสและไม่ได้หย่า สำหรับสตรีที่เสนอและมอบตัวให๎กับทำน สตรีที่มีสถานะเป็นทาสี และสตรีที่ท่านนบี หมั้นหมายแต่ไม่ได้สมรส ทั้งหมดนี้ไมํถือเป็นอุมมะฮาตอัลมุอ๑มินีน พวกนางเป็นสตรีที่มีสํวนรํวมในการดะอฺวะฮฺ ซึ่งผู๎วิจัยเลือกศึกษาอุมมะฮาตอัลมุอ๑มินีนทั้งหมด 6 ทำน คือท่านหญิงเคาะดีญะฮฺ บุตรี คุวัยลิดท่านหญิงเสาดะฮฺ บุตรี ซัมอะฮฺ ท่านหญิงอาอิชะฮฺ บุตรี อบูบักรฺ ท่านหญิงหัฟเศาะฮฺ บุตรี อุมัรฺ ท่านหญิงอุมมุสะละมะฮฺ และท่านหญิงซัยนับ บุตรี ญะหฺช ซึ่งการดะอฺวะฮฺของพวกนางดำเนินขึ้นโดยปัจเจกบุคคล (ฟัรดิยะฮฺ) ไมํได๎รวมตัวภายใต้ชื่อและโครงสร๎างการทำงานใดๆ หากแตํดำเนินตามบริบทสังคมในยุคนั้นด้วยวิธีการตำงๆ สํวนหนึ่งที่สังเคราะห์จากหะดีษและเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ขึ้นเป็นกรอบแนวคิดวิธีการดะอฺวะฮฺได้ดังนี้ 1) การเสริมสร้างกำลังใจ 2) การเป็นแบบอยำงที่ดี 3) การเผยแผํวิทยาการอิสลาม 4) การตักเตือนที่ดี 5) การสั่งใช้สูํความดีและการห้ามปรามสิ่งชั่วร้าย 3) องค์กรมุสลิมะฮฺในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้และกรุงเทพมหานครทั้ง 6 องค์กร สามารถแบํงออกได๎ 4 ลักษณะ คือ 1) มูลนิธิ 2) สมาคม 3) ชมรม 4) กลุ่ม การรวมตัวขององค์กรข๎อที่ 1 และ 2 จะต๎องทำการจดทะเบียนทางกฎหมาย สํวนข้อที่ 3 และ 4 ไม่ต้องทำการจดทะเบียนใดๆ ซึ่งการรวมกลุ่มเป็นองค์กรพบว่า เป็นเครื่องมือหนึ่งที่ทำให้การดะอฺวะฮฺมีเข้มแข็ง และมีประสิทธิภาพขึ้น การจดทะเบียนหรือไม่จดทะเบียนขององค์กรไม่ได๎เป็นอุปสรรคตํอการดะอฺวะฮฺแตํอยำงใด และจากกรอบแนวคิดวิธีการดะอฺวะฮฺของอุมมะฮาตอัลมุอ๑มีนีน 5 วิธีการ นำมาซึ่งการศึกษาวิธีการดะอฺวะฮฺขององค๑กรมุสลิมะฮฺในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้และกรุงเทพมหานคร 3 วิธีการ คือ การเผยแผ่วิทยาการอิสลาม การสั่งใช้สู่ความดีและห้ามปรามสิ่งชั่วร้าย และการเสริมสร้างกำลังใจ ทั้งนี้เพราะการดะอฺวะฮฺด๎วยแบบอยำงที่ดีงามและการตักเตือนที่ดีเป็นวิธีปฏิบัติของรายบุคคล (ดะอฺวะฮฺฟัรดิยะฮฺ) มากกว่าการปฏิบัติในนามขององค์กร สรุปผลได๎ดังนี้ 1) การเผยแผ่วิชาการอิสลาม วิธีปฏิบัติที่พบ ได๎แกํ การจัดบรรยายศาสนธรรม การจัดอบรม การเรียนการสอน การจำหน่ายและแจกสื่อสิ่งพิมพ์อิสลาม การจัดรายการวิทยุ การจัดหัลเกาะฮฺหรืออุสเราะฮ (กลุ่มศึกษาเรียนรู๎อิสลาม) และการจัดงานมุลตะกอ (งานพบปะมุสลิมะฮฺ) 2) การสั่งใช้สู่ความดีและห้ามปรามสิ่งชั่วร้าย วิธีปฏิบัติที่พบ ได้แก่ การสั่งใช้สู่ความดีและห้ามปรามสิ่งชั่วร้ายปรากฏสอดแทรกอยูํในโครงการหรือกิจกรรมตำงๆ การพบปะ เยี่ยมเยียนการสั่งใช้สู่ความดีและห้ามปรามสิ่งชั่วร้ายผ่านสื่อประเภทต่างๆ และการออกแถลงการณ์ 3) การเสริมสร้างกำลังใจ วิธีการปฏิบัติที่พบ ได๎แก่ การพบปะเยี่ยมเยียนและให้ความชํวยเหลือ การให้การดูแลและเอาใจใสํแบบตัวต่อตัว และการพูดคุยให้คำปรึกษา

This research aims to study 1) the Daawah of Muslims women in Islamic Perspective using 2) the methodology in Daawah of Ummaht Al-Mu?minn in the early ages 3) The Methodology in Daawah of Muslim women organization in southern border provinces and Bangkok. The research was conducted by using document and field studies by In-depth Interview aims at 11 leaders from 6 Muslim women organizations in three southern border provinces and Bangkok. The six organizations are 1) Women's Affairs of the World Assembly of Muslim Youth 2) Muslimah's Network Yala of The Young Muslim Association of Thailand 3) Muslim Women of Pattani society 4) Muslimah of Narathiwat society 5) Banat al-Huda group (Ladies of the Guidance Society) and 6) Islam Talk group. The method used in analyzing data is descriptive approach. The results of this study were as follows: 1) Da?awah is a religious commandment for both Muslim?n and Muslimah, which had compulsory to practice Da?awah for both Muslim'n and Muslimah, Yet the Islamic's scholars still have differnet opinions whether it was Fardฺ u??n or Fardฺ u kifyah. The muslim women who wish to be al-D??iy need some preparation in both theoretical and practical aspects. In theory it always includes seeking for Islamic knowledge, develops spiritual as well as social skill. And in practice it need participating in particular training programs in order to learn mediate in practicing Daawah. Moreover it is necessary to be learn some guidelines or methods in Daawah which include H ฺikmah method, good advice, better argument etc. 2) Ummah't Al-Mu?min?n were women whom Prophet Muh ฺammad married with and did not divorced them after that. As for women who present themselves to him, female slaves, and women whom he engaged with but did not married, all of these were not count as Ummah't Al-Mu?min?n. They were women who took part in Daawah. For this study the researcher chose six of them which they are Khadjah Binti Khuwaylid, Sawdah Binti Zamah, Ashah Binti Abu bakr, Hafs ฺah BintiUmar,Ummu Salmah and lastly Zainab Binti Jahsh . Their Da?awah, at that time, went on individually (Fardiyah) having no corporation under any names nor work breakdown structure. It continued in various ways according to the social context of that time. The Daawah framework that can be synthesized from Hadith and historic events are 5 ways as follows; 1) strengthening the morale 2) being a good role model 3) spreading of the Islamic knowledge 4) reminded with a proper wa 5) encouraging to do good deeds and prohibiting from the evils. 3) There are six of Muslim women organizations in three southern border provinces and Bangkok which can be divided into 4 categories: 1) foundation 2) association 3) society 4) group. The first and the second categories must be registered under law while the third and fourth categories do not need any registration. Forming an organization is founded to be one of the ways which strengthen Daawah and make Daawah more effective. And being a registered organization or not, does not related to the obstacles they would face in doing Daawah. And according to conceptual framework of Ummah't Al-Mu?min?n Daawah methods in the early period leading to have five Daawah methods for Muslim women Organization in southern border province and Bangkok which they are spreading the Islamic knowledge, encouraging people to good deeds and prohibitimg from the evil and strengthening the heart whose the details are as follows 1) Spreading the Islamic knowledge through giving a lecture for certain Islamic topics, conducting training program, sale and distribution of Islamic publications, the radio show, H ฺalqah or Usrah (Islamic learning Group) as well as Multaqa for Muslimah (Gathering of Muslim woman) 2) Encouraging people to do good deeds and stay away from the evils, which had been practiced through organizing some projects or activities, conducting a visits, using media as well as issuing a statement for a particular situation. 3) Strengthening the heart of people which had been practiced through visits, providing some assistance, taking a care of each other individually and mutual consultation. :
     ผู้ทำ/Author
Nameอัลฮุดา บินตีฮารุน
Organization มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. วิทยาลัยอิสลามศึกษา
     เนื้อหา/Content
Cover
Abstracts
Acknowledgement
Contents
Symbol
Chapter1
Chapter2
Chapter3
Chapter4
Chapter5
References
Appendix
Vitae
เชื่อมโยงไปฐานข้อมูล TDC
     กลุ่มหัวเรื่อง: อิสลามศึกษา
     Contributor:
Name: ซาฝีอี อาดำ
Roles: ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
     Publisher:
Name:มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
Address:ปัตตานี (Pattani)
     Year: 2557
     Type: วิทยานิพนธ์/THESES
     Copyrights :
     Counter : 1344
     Counter Mobile: 65