ชื่อเรื่อง/Title Prevalence and Risk Factors of Chronic Kidney Disease among Gout Patients in Nongjik Hospital, Pattani Province / ความชุกและปัจจัยเสี่ยงของผู้ป่วยโรคเกาต์ที่มีภาวะไตเสื่อมในโรงพยาบาลหนองจิก จังหวัดปัตตานี
     บทคัดย่อ/Abstract This study aimed to investigate the prevalence of chronic kidney disease (CKD) and to identify body mass index (BMI), hypertension (HT) co-morbidity, diabetes mellitus (DM) co-morbidity, dyslipidemia co-morbidity, thiazide use, anti-gout and serum uric acid associated with CKD among gout patients in Nongjik hospital, Pattani Province. Medical records of the patients from January 2004 to December 2010 were reviewed. CKD was defined as estimated glomerular filtration rate (eGFR) less than 60 ml/min/1.73 m2. eGFR was calculated by using the simplified Modification of Diet in Renal Disease (MDRD) equation. Multiple logistic regression was used to identify the association between possible determinant factors and CKD. Of the total 167 patients, the prevalence of CKD with the calculated MDRD equation was 54.5% (95% confidence interval (CI) 46.6-62.2). Factors associated to CKD include HT (aOR 3.02; 95% CI 1.35-6.77), dyslipidemia (aOR 2.21; 95% CI 1.13-<br /><br /><br /> 4.29) and serum uric acid (aOR 2.30; 95% CI 1.16-4.56). BMI, DM co-morbidity, thiazide use and anti-gout were not found to be associated with CKD.

การศึกษานี้เป็นการหาค่าประมาณความชุกและหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆซึ่งประกอบด้วยดัชนีมวลกาย การมีโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคไขมันในเลือดสูง การใช้ยาขับปัสสาวะกลุ่มไธอาไซด์ ยารักษาโรคเกาต์ และการคุมระดับกรดยูริกในเลือดกับการเกิดภาวะไตเสื่อมของผู้ป่วยโรคเกาต์ในโรงพยาบาลหนองจิก จังหวัดปัตตานี ทำการศึกษาข้อมูลจากฐานข้อมูลโปรเเกรมบริการของโรงพยาบาลหนองจิก ในช่วงเดือนมกราคม 2547 ถึงเดือนธันวาคม 2533 โดยคำนวณหาค่าประมาณอัตราการกรองผ่านไต (estmated glomerular filtration rate, eGFR) ด้วยสมการ MDRD หาค่า eGFR ต่ำกว่า 60มล/นาที/1.73 ม จะถือว่ามีภาวะไตเสื่อม วิเคราะหืปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดภาวะโรคไตเสื่อม โดยใช้การถดถอยโลจิสติกส์<br /> ผลการศึกษา พบว่าจากผู้ป่วยโรคเกาต์ทั้งหมด 167 ราย มีความชุกของการเกิดภาวะไตเสื่อมเป็น 54.5% (95% ช่วงความเชื่อมั่น 46.6-62.2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะไตเสื่อมคือการมีโรคความดันโลหิตสูงร่วมกับโรคเกาต์ (aOR 3.02; 95% ช่วงความเชื่อมั่น 1.35-6.77) การมีโรคไขมันในเลือดสูงร่วมกับโรคเกาต์ (aOR 2.30; 95% ช่วงความเชื่อมั่น 1.13-4.29) และการควบคุมระดับยูริกในเลือด (aOR 2.21; 95% ช่วงความเชื่อมั่น 1.13-4.29) (aOR 2.30; 95% ช่วงความเชื่อมั่น 1.16-4.56) ส่วนดัชนีมวลกาย การมีโรคเบาหวานร่วมกับโรคเกาต์ การใช้ยาขับปัสสาวะกลุ่มไธอาไซด์และยารักษาโรคเกาต์ไม่มีความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะไตเสื่อมในผู้ป่วยโรคเกาต์
     ผู้ทำ/Author
NameNealnad Cheyoe
Organization Prince of Songkla University, Pattani Campus. Faculty of Science and Technology
     เนื้อหา/Content
Cover
Abstracts
Acknowledgements
Contents
Chapter1
Chapter2
Chapter3
Chapter4
Chapter5
References
Appendix
Vitae
Thesis (Full Text)
     กลุ่มหัวเรื่อง: ด้านสุขภาพอนามัย
--สุขอนามัยชุมชน
--หน่วยงานบริการสาธารณสุข
     Contributor:
Name: Metta Kuning
Roles: Advisor
     Publisher:
Name:Prince of Songkla University, Pattani Campus
Address:Pattani
     Year: 2013
     Type: วิทยานิพนธ์/THESES
     Copyrights :
     Counter : 1343
     Counter Mobile: 33