|
บทคัดย่อ/Abstract |
This study aimed: i) to conduct a factor analysis on competency of Islamic Private Schooles Administrators in the southern border provinces, ii) to examine the perceived levels of competency of Islamic Private Schooles Administrators in the southern border provinces, and iii) to compare the differences of levels of competency of Islamic Private Schooles Administrators in the southern border provinces based on school sizes. The samples consisting of 500 school personnel were divided into 2 groups. The first group out of whom were selected for exploratory analysis consisted of 100 samples. They were Administrators, Head of Academic Affairs and Head of Human Resources. The second group, comprising 400 samples, were used for a confirmatory factor analysis and a comparison of the differences of levels of competency. They were Administrators, Head of Academic Affairs, Head of Human Resources and teachers. The research instrument was the Assessment Scale of Islamic Private Schooles Administrator Competency. Data was analyzed based on, percentage, arithmetic mean, standard deviation, One-Way ANOVA, exploratory factor analysis and confirmatory factor analysis. <br /><br />
The finding shows that competency of Islamic Private Schooles Administrators in the southern border provinces is composed of three dimensions i.e. interaction with people, achievement orientation, and visioning capacity. Fit model indices on competency of Islamic Private Schooles Administrators in the southern border provinces indicate high congruence of the hypothesized model with the empirical data as X2/df = 1.407, GFI = .95, AGFI = . 93, CFI = .99, RMSEA = .032, and SRMR = .025. The perceived levels of competency of Islamic Private Schooles Administrators in the southern border provinces are high in both overall and each aspect of the three. The examination of levels of competency of Islamic Private Schooles Administrators in the southern border provinces based on different school sizes x large, middle, and small x shows no significantly different results.
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์องค์ประกอบสมรรถนะผู้บริหารโรงเรียนเอกชนสอนสาสนาอิสลามในจังหวัดชายเเดนภาคใต้ 2) สึกษาระดับสมรรถนะผู้บริหารโรงเรียนเอกชนสอนสาสนาอิสลามในจังหวัดชายเเดนภาคใต้ และ 3) เปรีบยเทียบระดับสมรรถนะผู้บริหารโรงเรียนเอกชนสอนสาสนาอิสลามในจังหวัดชายเเดนภาคใต้ ระกว่างดรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ กล่มตัวอย่างทั้งหมด 500 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 เป็นกลุ่มที่ใช้ในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ จำนวน 100 คน ประกอบด้วยผู้บริหาร หัวหน้าฝ่ายวิชาการ หัวหน้าฝ่ายบุคลากร กลุ่มที่2 เป็นกลุ่มที่ใช้ในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันและศึกษาเปรีบยเทียบระดับสมรรถนะ จำนวน 400 คน ประกอบด้วยผู้บริหาร หัวหน้าฝ่ายวิชาการ หัวหน้าฝ่ายบุคลากร และครูผู้สอน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบประเมินสมรรถนะผู้บริหารโรงเรียนเอกชนสอนสาสนาอิสลามในสามจังหวัดชายเเดนภาคใต้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความเเปรปรวนทางเดียว วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ และวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน<br />
ผลการวิจัยพบว่า องค์ประกอบสมรรถนะผู้บริหารโรงเรียนเอกชนสอนสาสนาอิสลามในสามจังหวัดชายเเดนภาคใต้ ประกอบด้วย องค์ประกอบด้านความสัมพันธ์กับผู้อื่น องค์ประกอบด้านการมุ่งผลสัมฤทธิ์ และองค์ประกอบด้านการมีวิสัยทัศน์ การตรวจสอบความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลองค์ประกอบสมรรถนะผู้บริหารโรงเรียนเอกชนสอนสาสนาอิสลามในสามจังหวัดชายเเดนภาคใต้ กับข้อมูลเชิงประจักษ์ พบว่า โมเดลมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์อยู่ในเกณฑ์ดี โดยมีค่า X2/df = 1.407, AGFI = .93, CFI = .99, RMSEA = .032 และ SRMR = .025 ส่วนระดับสมรรถนะผู้บริหารโรงเรียนเอกชนสอนสาสนาอิสลามในสามจังหวัดชายเเดนภาคใต้ ภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก และผลการเปรียบเทียบระดับสมรรถนะผู้บริหารโรงเรียนเอกชนสอนสาสนาอิสลามในสามจังหวัดชายเเดนภาคใต้ ระหว่างโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่มีระดับสมรรถนะไม่เเตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ |