ชื่อเรื่อง/Title ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดปัตตานี / Factors influencing learning achievement motivation of mathayomsuksa three student in islamic private schools in changwat pattani
     บทคัดย่อ/Abstract การวิจัยครั้งมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยระดับนักเรียนและปัจจัยระดับโรงเรียนที่มีอิทธิพลต่อแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ทางการเรียนและเพื่อสร้างสมการพยากรณ์ในการทำนายแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่3 โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดปัตตานี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดปัตตานี จำนวน 43 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลได้แก่ นักเรียนชันมัธยมศึกษาปี ที3ปี การศึกษา2550 จำนวน 1,290 คน และครูทีสอนนักเรียนในห้องเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 430 คน ตัวแปรทีใช้ในการวิจัยประกอบด้วย ตัวแปรระดับนักเรียนจำนวน 3 ตัวแปร ได้แก่เจตคติต่อการเรียน สัมพันธภาพระหว่างครูกับนักเรียน การสนับสนุนทางด้านการเรียนของผู้ปกครอง และตัวแปรในระดับโรงเรียนจำนวน 2 ตัวแปร ได้แก่ คุณภาพการสอนของครูสภาพแวดล้อมทางวิชาการของโรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 2 ฉบับ ด้แก่1)แบบสอบ-ถามสำหรับนักเรียน ประกอบด้วย แบบสอบถามเจตคติต่อการเรียน แบบสอบถามสัมพันธภาพระหว่างครูกับนักเรียน แบบสอบถามการสนับสนุนทางด้านการเรียนของผู้ปกครอง และแบบสอบถามแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ทางการเรียน มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ0.896,0.832,0.836และ 0.879 ตามลำดับ 2) แบบสอบถามสำหรับครูผู้สอน ประกอบด้วย แบบสอบถามคุณภาพการสอนของครู และแบบสอบถามสภาพแวดล้อมทางวิชาการของโรงเรียนมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.965 และ 0.912 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพืนฐาน การวิเคราะห์สัมประสิทธิสหสัมพันธ์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์พหุระดับ (Multilevel Analysis) ด้ วยเทคนิคโมเดลเชิงเส้นตรงระดับลดหลั่นโดยใช้ โปรแกรม HLM. for Windowversion 4.04 ผลการวิจัยปรากฏดังนี 1. ตัวแปรระดับนักเรียนที่มีอิทธิพลต่อแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่3 โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดปัตตานี อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 คือ เจตคติต่อการเรียน สัมพันธภาพระหว่างครูกับนักเรียน และการสนับสนุนทางด้านการเรียนของผู้ปกครอง โดยที่ตัวแปรระดับนักเรียนสามารถร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ทางการเรียนได้ร้อยละ 40.47 2. ตัวแปรระดับโรงเรียนที่มีอิทธิพลต่อแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชันมัธยมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดปัตตานี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทีระดับ .05 คือ คุณภาพการสอนของครู และสภาพแวดล้อมทางวิชาการของโรงเรียน โดยตัวแปรทังสองสามารถร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ ทางการเรียนได้ร้อยละ 50.7 3. สมการพยากรณ์ในการทำนายปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชันมัธยมศึกษาปี ที่3 โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดปัตตานี มีดังนี้ นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 คือ เจตคติต่อการเรียน สัมพันธภาพระหว่างครูกับนักเรียน และการสนับสนุนทางด้านการเรียนของผู้ปกครอง โดยที่ตัวแปรระดับนักเรียนสามารถร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ทางการเรียนได้ร้อยละ 40.47 2. ตัวแปรระดับโรงเรียนที่มีอิทธิพลต่อแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่3 โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดปัตตานี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือ คุณภาพการสอนของครู และสภาพแวดล้อมทางวิชาการของโรงเรียน โดยตัวแปรทั้งสองสามารถร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ทางการเรียนได้ร้อยละ 50.7 3. สมการพยากรณ์ในการทำนายปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชันมัธยมศึกษาปี ที่3 โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดปัตตานี มีดังนี การวิเคราะห์ภายในโรงเรียน (Within-Unit Model)

The purposes of this research were to study factors influencing learning achievement motivation and to construct predictive equations of achievement motivation of Mathayomsuksa three students in Islamic private schools in Changwat Pattani.The research consisted of 43 schools, the research samples were 1,290 Mathayomsuksa three Students and 430 teachers during the academic year 2007 .The variables under study consisted of two level i.e., student level had 3 variables, including attitude toward studying, teacher-student relations, parent?s educational support and school level had 2 variables, including teaching quality of teachers, academic environment of school.The research instruments consisted of 2 questionnaires were 1) students questionnaires, including a questionnaire on attitude toward studying, a questionnaire on teacher-student relations, a questionnaire on parent?s educational support and a questionnaire on learning achievement motivation of which the reliability is 0.896, 0.832, 0.836 and 0.879 respectively, 2) teacher?s questionnaires including a questionnaire on teaching quality of teachers and a questionnaire on academic environment of school of which the reliability is 0.965 and 0.912 respectively. Data were analyzed by basic statistic, Pearson?s product moment correlation with a computer program and hierarchical linear model was analyzed by HLM. for Window version 4.04. The research findings were as follows:1. Student level variables which had significant effects on learning achievement motivation of Mathayomsuksa Three Students in Islamic Private Schools in Changwat Pattani at .01 levels were attitude toward studying, teacher-student relations, parent?s educational support and all variables accounted 40.47 percent of variances on the achievement motivation of Mathayomsuksa Three Students in Islamic Private Schools in Changwat Pattani.2. School level variables which had significant effects on learning achievement motivation of Mathayomsuksa Three Students in Islamic Private Schools in Changwat Pattani at .05 levels were teaching quality of teachers, academic environment of school and all variables accounted 50.7 percent of variances on the achievement motivation of Mathayomsuksa Three Students in Islamic Private Schools in Changwat Pattani.3. The predictive equations of factors Influencing learning achievement motivation of Mathayomsuksa Three Students in Islamic Private Schools in Changwat Pattani were as below.A predictive equation within unit model AMI(Y ) 3.784 0.499(ATS) = + + 0.229(TSR) + 0.239(PES) A predictive equation between unit model 0j = 3.780 +.216(QTT) +.237(AES) TSR(? 2j) = .223 +.376(QTT)
     ผู้ทำ/Author
Nameปราณี หลำเบ็ญสะ
Organization มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
     เนื้อหา/Content
วิทยานิพนธ์
     กลุ่มหัวเรื่อง: ด้านการศึกษา
--การจัดการศึกษา
อิสลามศึกษา
     Contributor:
Name: ชิดชนก เชิงเชาว์
Roles: ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
     Publisher:
Name:มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
Address:ปัตตานี (Pattani)
     Year: 2553
     Type: วิทยานิพนธ์/THESES
     Copyrights :
     Counter : 3786
     Counter Mobile: 36