ชื่อเรื่อง/Title การใช้หลักจิตวิทยาการศึกษาอิสลามในกระบวนการสอนของครูอิสลามศึกษา ระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปัตตานี / The application of islamic educational psychology in the teaching process of islamic studies teachers in primary schools under the office of pattani educational service areas
     บทคัดย่อ/Abstract การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาพฤติกรรมการใช้หลักจิตวิทยาการศึกษาอิสลามในกระบวนการสอนของครูอิสลามศึกษา ระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นทีการศึกษาปัตตานี 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับพฤติกรรมการใช้จิตวิทยาการศึกษาอิสลามในกระบวนการสอนของครูอิสลามศึกษา จำแนกตตามตัวแปร เพศ อายุ วุฒิการศึกษา ประสบการณ์การสอน และการสอนตรงตามสาขาที่เรียน 3) เพื่อศึกษาปัญหาที่บเจอและเเนวทางแก้ไข โดยใช้หลักจิตวิทยาของครูอิสลามศึกษา ระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปัตตานี กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยได้เเก่ ครูอิสลามศึกษาในโรงเรียนระดับแระถมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปัตตานี จำนวน 185 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มขนาดของตัวอย่างตามสูตรของยามาเน่ เครื่องมือที่ใชในการเก็บข้อมูล คือ แบบสอบถามสำรวจพฤติกรรมการใช้หลักจิตวิทยาการศึกษาอิสลาม ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ตอน ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพทั่วไปของผู้ตอบเเบบสอบถาม เป็นแบบสำรวจรายการ ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้หลักจิตวิทยาการศึกษาตามทัศนะคติของนักปราชญ์มุสลิมจำเเนกออกเป็น 3 ขั้นตอน คือ ขั้นการเตรียมการสอน ขั้นการจัดการเรียนการสอน และขั้นสรุปผลและประมินผลการสอน เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า ตอนที่ 3แบบสอบถามแบบปลายเปิดเกี่ยวกับปัญหาที่พบเจอในระหว่างการจัดการเรียนการสอนและเเนวทางแก้ไข มีความเชื่อมั่น .86 ถึง .95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมุล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า 1. พฤติกรรมการใช้หลักจิตวิทยาการศึกษาอิสลามในกระบวนการสอนของครูอิสลามศึกษา ระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปัตตานี ในขั้นการเตรียมการ สอน ขั้นการจัดการเรียนการสอน และขั้นสรุปผลและประเมินผลการสอน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2. พฤติกรรมการใช้หลักจิตวิทยาการศึกษาอิสลามในกระบวนการสอนของครูอิสลามศึกษา ที่มีเพศต่างกัน พบว่า มีพฤติกรรมการปฏิบัติจริงขั้นเตรียมการสอนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนพฤติกรรมที่ปฏิบัติจริงขั้นเตรียมการเรียนการสอนและขั้นสรุปเเละประเมินผลการสอนไม่แตกต่างกัน 3. พฤติกรรมการใช้หลักจิตวิทยาการศึกษาอิสลามในกระบวนการสอนของครูอิสลามศึกษา ที่มีอายุต่างกัน พบว่า มีพฤติกรรมการปฏิบัติจริงขั้นเตรียมการสอน ขั้นการจัดการเรียนการสอน ขั้นสรุปและประเมินผลการสอนไ ม่แตกต่างกัน 4. พฤติกรรมการใช้หลักจิตวิทยาการศึกษาอิสลามในกระบวนการสอนของครูอิสลามศึกษา ที่มีวุฒิกางการศึกษาที่ต่างกัน พบว่า มีพฤติกรรมการปฏิบัติจริงขั้นเตรียมการสอน ขั้นการจัดการเรียนกรสอน และขั้นสรุปและประเมินผลไม่แตกต่างกัน 5. พฤติกรรมการใช้หลักจิตวิทยาการศึกษาอิสลามในกระบวนการสอนของครูอิสลามศึกษา ที่มีประสบการณ์การสอนต่างกัน พบว่า มีพฤติกรรมการปฏิบัติจริงขั้นเตรียมการสอน และขั้นสรุปผลและประเมินผลการสอนไม่แตกต่างกัน ส่วนขั้นการจัดการเรียนการสอนนั้นแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 6. พฤติกรรมการใช้หลักจิตวิทยาการศึกษาอิสลามในกระบวนการสอนของครูอิสลามศึกษา ที่มีการสอนตรงตามสาขาวิชาที่เรียนมาต่างกัน พบว่า มีพฤติกรรมการปฏิบัติจริง ขั้นการเตรียมการสอน ขั้นการจัดการเรียนการสอน และขั้นสรุปและประเมินผลกสารสอนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 7. ปัญหาที่พบเจอในระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียการสอนที่พบมากที่สุด คือ ปัญหานักเรียนคุยกันเวลาสอน มีแนวทางการแก้ปัญหาที่ได้เสนอมากที่สุด คือ จัดกิจกรรมที่สนุกสลับกับบทเรียนที่กำลังสอนอยู่ และจับคนที่คุยกันแยกจากกัน หรือคนที่ชวนคุยแยกออกมานั่งที่อื่น<br /> <br />

This research aims to 1) Study the application of Islamic educational psychology in the teaching process of Islamic studies teachers in primary schools under the Office of Pattani Educational Service Areas, 2) Compare levels of the application of Islamic educational psychology in the teaching process of Islamic studies teachers according to variables ,namely, sex, age, educational background, teaching experiences, and specialization 3) Study problems and solution by applying Islamic educational psychology in the process of teaching and learning of Islamic studies teachers in primary schools under the Office of Pattani Educational Service Areas. Samples consist of 185 Islamic studies teachers in primary school under the Office of Pattani Educational Service Areas. Sample size was obtained by using the Yamane?s formula. Instrument for data collection is questionnaire asking for the behavior of the application of Islamic educational psychology in Islamic Education which is divided into 3 sections Section 1 is questionnaires related to respondent personal data. Section 2 is scales questionnaires related to the behavior of applying psychology according to Muslim philosopherns points of view divided into 3 steps; teaching preparation, teaching and learning and teaching evaluation. Section 3 is open ended questionnaires related to the problem found during teaching and its solution. The confidence level is .86 to .95. Statistics used in data analysis are percentage, average, standard deviation, and One Way ANOVA. There search shows that. 1. The overall behavior of the application of Islamic educational psychology in the teaching process of Islamic studies teachers in primary schools under the Office of Pattani Educational Service Areas in teaching preparation, teaching and learning and teaching evaluation are at a high level.2. The behavior of the application of Islamic educational psychology in the teaching process of Islamic studies teachers of different sex shows that the actual behavior in preparation step is significantly different at the .05 level, while the actual behavior in teaching and teaching conclusion and evaluation steps are not different.3. The behavior of the application of Islamic educational psychology in the teaching process of Islamic studies teachers of different age shows that the actual behavior in preparation, teaching, and teaching result conclusion and evaluation steps are the same.4. The behavior of the application of Islamic educational psychology in the teaching process of Islamic studies teachers of different educational background shows that the actual behavior in preparation, teaching, and teaching result conclusion and evaluation steps are the same.5. The behavior of the application of Islamic educational psychology in the teaching process of Islamic studies teachers of different teaching experience shows that the actual behavior in preparation and teaching result conclusion and evaluation steps are the same, while having significantly different teaching step at .05 level. 6. The behavior of the application of Islamic educational psychology in the teaching process of Islamic studies teachers of different acquired discipline shows that the actual behavior in preparation, teaching, and teaching result conclusion and evaluation steps are significantly different at the .05 level. 7. The most frequently found problem during teaching is student talking in class. The most proposed solution is organizing fun activities alternately with learning lesson, enabling students to participate and express. Teacher walks towards students who are talking and asks questions in the lesson that is being taught. Then separate the talking students by seating them in different location, or seating the student who starts the conversation in different location.<br />
     ผู้ทำ/Author
Nameซัลมา หีมอะด้ำ
Organization มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
     เนื้อหา/Content
วิทยานิพนธ์
     กลุ่มหัวเรื่อง: ด้านการศึกษา
--การจัดการศึกษา
อิสลามศึกษา
     Contributor:
Name: อิบราเฮ็ม ณรงค์รักษาเขต
Roles: ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
     Publisher:
Name:มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
Address:ปัตตานี (Pattani)
     Year: 2553
     Type: วิทยานิพนธ์/THESES
     Copyrights :
     Counter : 2702
     Counter Mobile: 43