ชื่อเรื่อง/Title ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ผลปลายทางที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ และความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสตรีอิสลามวิทยามูลนิธิ จังหวัดยะลา / Effects of backward design learning on physic achievement and satisfaction toward learning management of mathayomsuksa six students in satree islam witaya mulaniti school yala province
     บทคัดย่อ/Abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1)เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนกับหลังการจัดการเยนรู้โดยใช้ผลปลายทาง 2)เปรียบเทียผลสัทฤทธิ์ทางการเรยนของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ผลปลายทางกับเกณฑ์ร้อยละ70 3)ศึกษาความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ผลปลายทางและ 4)สึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรุ้โดยใช้ผลปลาทางกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ ของนักเรียนชั้นมัธยมสึกษปีที่6โรงเรียนสตรีอิสลามวิทยามูลนิธิ จังหวัดยะลา กลุ่มที่ศึกษาเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่6/5โรงเรียนสตรีอิสลามวิทยามลูนิธิ อำเภอเมือง จังหวัดยะลา ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2552 จำนวน 1ห้องเรียน รวม44คน โดยการสุ่มอย่งง่า(Simple Radom Sampling)ด้วยการหยิบฉลาก เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง(Quasi-Experimental Design)กลุ่มที่ศึกษาได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ผลปลายทาง ใช้เวลาในการจัดการเรียนรู้ 16คาบ คาบละ 40 นาที เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ผลปลายทาง หน่วยไฟฟ้าสถิต แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบวัดความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ผลปลายทาง แบบบันทึกภาคสนามของผู้วิจัย วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน ทดสอบค่าที่ และค่าสหสัมพันธ์ ผลการวิจัยพบว่า
1. นักเรียนที่ได้รับการจัดกาเรียนรู้โดยใช้ผลปลายทางมีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนฟิสิกส์ หลังการเรียนรู้สูงกว่าก่อนการจัดกาเรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01
2. หลังการทดสอบเปรียบเทียบของคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กับเกณฑ์ร้อยละ70พบว่คะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนได้น้อยกว่าเกณฑ์ร้อยละ70อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01
3.ความพึงพอใจต่อการจัดการู้โดยใช้ผลปลายทางของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่6หลังการจัดการเรียนรู้อยู่ในระดับความพึงพอใจมาก


The purpose of this research was to 1)compare the posttest and pretest achievement by Backward Design Learning 2)compare between achievement of student who are learning using Backward Design Learning with the criteria of 70% 3)study satisfaction toward learning management by Backward Design Learning and 4)study correlation between satisfaction with Backward Design Learning of physics achievementqs Mathayomsuksa Six Students in Satree Islam Witaya Mulaniti School Yala Province. The sample group of this research was 44 students in Mathayomsuksa 6/5 classroom during the first semester of 2009 academic year, received by simple random sampling. The Quasi-Experimental Design research was conducted using one group pretest s posttest design. They were instructed by using Backward Design learning. Approach for 16 periods 40 minute per period. The research instruments consisted of lesson plans for the Backward Design learning Approach on Static Electricity, achievement test, questionnaires on satisfaction to Backward Design learning, the researcher field s notes.The data was analyzed by arithmetic means, standard deviation, t s test and correlation. The research findings were as follows.
1. Students learning by Backward Design approach had the post s test mean score on science achievement higher than the pre s test mean score at the 0.1 level of significance.
2. The comparison between mean score and criteria of 70% of total score indicated that studentsq mean score was lower than the criteria at the .01 level of significance.
3. Students satisfaction towards Backward Design learning approach was high in all respects.
4. Correlation coefficient between post s test and students satisfaction towards Backward Design learning Approach was positive correlation coefficient.
     ผู้ทำ/Author
Nameมูหามัดรุสดี โวะ
Organization มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
     เนื้อหา/Content
วิทยานิพนธ์
     กลุ่มหัวเรื่อง: ด้านการศึกษา
--การจัดการศึกษา
     Contributor:
Name: ณัฐวิทย์ พจนตันติ
Roles: ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
     Publisher:
Name:มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
Address:ปัตตานี (Pattani)
     Year: 2553
     Type: วิทยานิพนธ์/THESES
     Copyrights :
     Counter : 2493
     Counter Mobile: 38