ชื่อเรื่อง/Title พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 5-6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษายะลาเขต 1 / Self-health care behavior of prathomsuksa five-six students under the responsibility of yala education service area ofiice one
     บทคัดย่อ/Abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของตนเองของนักเรียนระดับประถมศึกษา ปีที่ 5-6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสูงสุดของมารดา รายได้ของครอบครัวต่อเดือนที่ใช้ในการศึกษาได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นอย่างมีสัดส่วน (Proportional Stratifed Random Sampling) เป็นนักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 5-6 จากโรงเรียนอนุบาลยะลาและโรงเรียนนิบงชนูปถัมภ์ ปีการศึกษา 2552 จำนวน 300 คน รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานใช้สถิติ t-test และ Oneway ANOVA ตามลักษณะของตัวแปร
ผลการวิจัยพบว่า
1.นักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 285 คน จากจำนวน 300 คน ส่วนมากเป็นเพศหญิงอาชีของมารดารับราชการ มารดาส่วนใหญ่ระดับการศึกษาปริญญาตรี รายได้ของครอบครัวต่อเดือน 10,000-20,000 บาท และมีสมาชิกในครอบครัว 4-5 คน
2.นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียนอยู่ในระดับสูงรองลงมา ระดับปานกลาง และระดับต่ำ
3.นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองที่ดี รองลงมา เจตคติปานกลาง และมีเจตคติที่ไม่ดี
4.นักเรียนมีพฤติกรรมปฏิบัติในการดูแลสุขภาพตนเองโดยรวม อยู่ในระดับทำบ่อยครั้ง
5.ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า นักเรียนที่มีเพศต่างกันพฤติกรรมการดูแลตนเองของนักเรียนด้านความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง ทั้ง 3 ด้านแตกต่างกัน ส่วนนักเรียนที่มารดามีอาชีพหลักครอบครัวมีรายได้ต่อเดือน และมีจํานวนสมาชิกในครอบครัวต่างกันมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ทั้ง 3 ด้านไม่แตกต่างกัน

The purpose of this study was to examine Self-Health Care Behavior of Prathomsuksa Five-Six Students under the Responsibility of Yala Education Service Area Office One for study the relationship between factor of gender, mother ?s job, parental education level, income of family, the numbers of member in family . The subjects data analysis were 300 students selected by simple random sampling from the prathomsuksa five-six at Anuban Yala school and Nibong chanupatum school in the first semester of 2009 academic year. Data were collected by questionnaire and data were analyzed in to frequency , mean , standard deviation and percentage. The t-test independent and One-way Anova mearsure were used to determine different between groups.
The result were presented as follow :
1. The subjects has 285 persons amounts from 300 persons amounts. Major are the female . Mother ?s job work in the government at. Parental education level has bachelor's degree. Income of family to10,000-20,000 baht per month a and 4-5 persons member in family
2. The subjects has Self-Health Care Behavior in high level , average level and low level .
3. The subjects has good level include their attitude, average level and has not good attitude level.
4. The subjects has behavior in self care in the many times level.
In conclusion, The purpose of this study were finding a student gender differences to has Self-Health Care Behavior of knowledge to health care behavior, and parental education level difference of 3 part as statistically a significant difference, but mother ?s job, income of
(5)
family and the numbers of member in family of 3 part has Self-Health Care Behavior were not different.
     ผู้ทำ/Author
Nameพิชามญช์ จันทุรส
Organization มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
     เนื้อหา/Content
วิทยานิพนธ์
     กลุ่มหัวเรื่อง: ด้านเศรษฐกิจและสังคม
--สตรีเด็กและเยาวชน
ด้านสุขภาพอนามัย
--สุขอนามัยชุมชน
     Contributor:
Name: สุชาดา ฐิติระวีวงศ์
Roles: ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
     Publisher:
Name:มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
Address:ปัตตานี (Pattani)
     Year: 2553
     Type: วิทยานิพนธ์/THESES
     Copyrights :
     Counter : 3247
     Counter Mobile: 42