ชื่อเรื่อง/Title ความสัมพันธ์ระหว่างการนิเทศภายในโรงเรียนกับพฤติกรรมการสอนของครูอิสลามศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส / The relationship between school supervision and teaching behavior of islamic studies teachers in secondary schools, under the Office of Education Services Areas in Narathiwat Provice
     บทคัดย่อ/Abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)ศึกษาระดับการปฏิบัติงานนิเทศภายใน<br /> โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส ตามทัศนะของผู้บริหาร<br /> หัวหน้าวิชาการ และครูอิสลามศึกษา ในด้านหลักสูตร ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ด้าน<br /> สื่อการเรียนการสอน ด้านการวัดและประเมินผล และด้านการพัฒนาครูผู้สอน 2) ศึกษาระดับ<br /> พฤติกรรมการสอนของครูอิสลามศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่<br /> การศึกษานราธิวาส ตามทัศนะของผู้บริหาร หัวหน้าวิชาการ และครูอิสลามศึกษา ในด้านการ<br /> เตรียมการสอน ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ด้านการใช้สื่อการเรียนการสอน ด้านการ<br /> ปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรม และด้านการวัดและประเมินผลการสอน 3) ศึกษาความสัมพันธ์<br /> ระหว่างการนิเทศภายในโรงเรียนกับพฤติกรรมการสอนของครูอิสลามศึกษาในโรงเรียน<br /> มัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส ตามทัศนะของผู้บริหาร หัวหน้าวิชาการ<br /> และครูอิสลามศึกษา 4) รวบรวมปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการปฏิบัติงานนิเทศภายใน<br /> โรงเรียนและพฤติกรรมการสอนของครูอิสลามศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขต<br /> พื้นที่การศึกษานราธิวาส ตามทัศนะของผู้บริหาร หัวหน้าวิชาการ และครูอิสลามศึกษา<br /> กลุ่มประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหาร จำนวน 18 คน หัวหน้า<br /> วิชาการ จำนวน 18 คน และครูอิสลามศึกษา จำนวน 90 คน รวมทั้งสิ้น 126 คน เครื่องมือที่ใช้<br /> ในการเก็บข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย ค่าร้อยละ<br /> ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน<br /> ผลการวิจัยพบว่า<br /> 1) ระดับการปฏิบัติงานนิเทศภายในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขต<br /> พื้นที่การศึกษานราธิวาส ตามทัศนะของผู้บริหาร หัวหน้าวิชาการ และครูอิสลามศึกษา ใน<br /> ภาพรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ทุกด้านมีการปฏิบัติอยู่ใน<br /> ระดับมาก ยกเว้นด้านสื่อการเรียนการสอนมีการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง<br /> (4)<br /> 2) ระดับพฤติกรรมการสอนของครูอิสลามศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่<br /> การศึกษานราธิวาส ตามทัศนะของผู้บริหาร หัวหน้าวิชาการ และครูอิสลามศึกษา ในภาพรวมและ<br /> รายด้านมีพฤติกรรมการสอนอยู่ในระดับมาก<br /> 3) ความสัมพันธ์ระหว่างการนิเทศภายในโรงเรียนกับพฤติกรรมการสอนของครู<br /> อิสลามศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส ตามทัศนะของ<br /> ผู้บริหาร หัวหน้าวิชาการ และครูอิสลามศึกษา พบว่า ในภาพรวมมีความสัมพันธ์กันทางบวกอยู่<br /> ในระดับค่อนข้างสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01<br /> 4) ปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการนิเทศภายในโรงเรียนและพฤติกรรมการ<br /> สอนของครูอิสลามศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส<br /> ตามทัศนะของผู้บริหาร หัวหน้าวิชาการ และครูอิสลามศึกษา พบว่า ปัญหาที่พบมากที่สุดคือ สื่อ<br /> การเรียนการสอนอิสลามศึกษามีน้อย ไม่เพียงพอต่อจำนวนนักเรียน สื่อที่มีอยู่ไม่มีความหลาก<br /> หลากหลายและไม่ทันสมัย ขาดการสนับสนุนด้านงบประมาณในการจัดซื้อสื่อและวัสดุ<br /> ประกอบการเรียนการสอน สำหรับข้อเสนอแนะ ได้เสนอแนะไว้มากที่สุด คือ ควรจัดหาสื่อการ<br /> เรียนการสอนอิสลามศึกษาให้เพียงพอ มีความหลากหลายและทันสมัย ควรจัดสรรงบประมาณใน<br /> การจัดซื้อสื่อและวัสดุประกอบการเรียนการสอนอิสลามศึกษาให้มากขึ้น โดยเฉพาะสื่อทางภาษา<br /> และเทคโนโลยี

<br /> <br /> This research aimed 1) to study levels of school supervision in secondary<br /> schools under the office of education service areas in Narathiwat province as perceived by<br /> administrators, academic leaders and Islamic studies teachers with regard to syllabus,<br /> instructional activities, teaching materials, measurement and assessment, and teachers<br /> development, 2) to study levels of teaching behaviors of Islamic studies teachers in<br /> secondary schools under the office of education service areas in Narathiwat province as<br /> perceived by administrators, academic leaders and Islamic studies teachers with regard to<br /> teaching preparation, instructional activities, teaching materials, establishing merit and the<br /> morality, and measurement and assessment, 3) to examine the relationship between school<br /> supervision and teaching behaviors of Islamic studies teachers in secondary schools under<br /> the office of education service areas in Narathiwat province as perceived by administrators,<br /> academic leaders and Islamic studies teachers, 4) to establish the problems and suggestions<br /> about school supervision and teaching behaviors of Islamic studies teachers in secondary<br /> schools under the office of education service areas in Narathiwat province as perceived by<br /> administrators, academic leaders and Islamic studies teachers.<br /> The population consisted of 18 school administrators, 18 academic leaders<br /> and 90 Islamic studies teachers, The research instruments were the interview form and<br /> questionnaires, Statistics used in this study was based on percentage, arithmetic mean,<br /> standard deviation and Pearson?s product correlation coefficient.<br /> The results of the study are as follows:<br /> 1) The perceived levels of school supervision in secondary schools under<br /> the office of education service areas in Narathiwat province, in overall and in each aspect,<br /> are high, with the exception of the teaching materials which are moderate.2) The perceived levels of teaching behaviors of Islamic studies teachers in<br /> secondary schools under the office of education service areas in Narathiwat province, in<br /> overall and in each aspect, are high.<br /> 3) There are high positive statistical significances relation between school<br /> supervision and teaching behaviors of Islamic studies teachers in secondary schools under<br /> the office of education service areas in Narathiwat province, It is at the level of 0.01.<br /> 4) With respect to problems and suggestions about school supervision and<br /> teaching behaviors of Islamic studies teachers in secondary schools under the office of<br /> education service areas in Narathiwat province, the findings show that there are various<br /> problems. They are less teaching materials which are insufficient with the number of<br /> learners, available teaching aids are not varied and lacking of the financial support. With<br /> regards to suggestions, the findings show that there should be sufficient, and variety of<br /> modern teaching aids in Islamic Studies besides there should be more budget to be<br /> allocated for the teaching materials, especially the teaching aids relevant to languages and<br /> technology.<br />
     ผู้ทำ/Author
Nameนูรีนา บือราเฮง
Organization มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
     เนื้อหา/Content
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ประวัติผู้เขียน
     กลุ่มหัวเรื่อง: ด้านการศึกษา
--การจัดการศึกษา
อิสลามศึกษา
     Contributor:
Name: อิบราเฮ็ม ณรงค์รักษาเขต
Roles: ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
     Publisher:
Name:มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
Address:ปัตตานี (Pattani)
     Year: 2552
     Type: วิทยานิพนธ์/THESES
     Copyrights :
     Counter : 3047
     Counter Mobile: 31