ชื่อเรื่อง/Title ผลของการสอนวิชาภาพพิมพ์โดยใช้โมเดลซิปปาที่มีต่อความถนัดทางศิลปะ ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ และความสามารถด้านเหตุผลเชิงนามธรรมของนักศึกษาสาขาวิชาศิลปศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี / Effects of teaching in printmaking subject by using Cippa model on the artistic aptitude, space relation and abstract reasoning of undergraduate students in Art Education program at Prince of Songkla
     บทคัดย่อ/Abstract การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดสอบ มีวัตุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการสอนวิชาภาพพิมพ์โดยใช้โมเดลชิฟฟาที่มีต่อความถนัดทางศิลปะ ความสามารถทางมิติสัมพันธ์ และความสามารถด้านเหตุผลเชิงนามธรรม ของนักศึกษาวิชาศิลปะศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
กลุ่มประชากรที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักศึกษาแผนกวิชาศิลปศึกษา ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ที่เรียนวิชาภาพพิมพ์ ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2551 จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการสอนเรื่องการพิมพ์แกะไม้ 2) แบบทดสอบความถนัดทางศิลปะ 3) แบบทดสอบความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ และ 4) แบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผลเชิงนามธรรม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าที ค่าร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต และสาวนเบี่ยงเบนมาตราฐาน
ผลการวิจัยพบว่า 1) นักศึกษามีความถนัดทางศิลปะ สูงขึ้นจากที่เรียนวิชาภาพพิมพ์ เรื่อง ภาพพิมพ์แกะไม้ โดยใช้โมเดลชิปปาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) นักศึกษามีความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ สูงขึ้นหลังจากที่เรียนวิชาภาพพิมพ์ เรื่อง ภาพพิมพ์แกะไม้ โดยใช้โมเดลชิปปาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 และ 3) นักศึกษามีความสามารถด้านเหตุผลเชิงนามธรรมสูงขึ้นหลังจากที่เรียนวิชาภาพพิมพ์ เรื่องภาพพิมพ์แกะไม้ โดยใช้โมเดลชิปปาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05



The purposes of this research was to study the effects of leaching in Printmaking by using Cippa model on the artistic aptitude, space relation and abstract reasoning of undergraduate students in Art Education program at Prince of Songkla university, pattani Campus.
The research population include 15 undergraduate Art Education program at Prince of Songkla university, pattani Campus. The research instruments were 1) lesson plans, 2) artistic aptitude test, 3) the space relation ability test and 4) the abstract reasoning test. The obtained data were analyzed by means, standard devlation, and t-test.
The research findings revealed that 1) the artistic aptitude of students obtained after teaching Printmaking by using the CIPPA model was higher than before at the level of significant .05 2) the space relation ability of students after teaching Printmaking by using the CIPPA model was higher than before at the level of significant .05 3) the abstract reasoning of students obtained after teaching Printmaking by using the CIPPA model was higher than before at the level of significant .05
     ผู้ทำ/Author
Nameสน วัฒนสิน
Organization มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
     เนื้อหา/Content
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2 (9-68)
บทที่ 2 (69-118)
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ประวัติผู้เขียน
     กลุ่มหัวเรื่อง: ด้านการศึกษา
--การจัดการศึกษา
     Contributor:
Name: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. คณะศึกษาศาสตร์
Roles: ผู้สนับสนุนทุนวิจัย
     Publisher:
Name:มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
Address:ปัตตานี (Pattani)
     Year: 2550
     Type: งานวิจัย/Research Report
     Copyrights :
     Counter : 2857
     Counter Mobile: 40