ชื่อเรื่อง/Title Modeling Adverse Event Riskd in Southern Border Provinces of Thailand: 2004-2005 / การสร้างตัวแบบของความเสี่ยงจากเหตุการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย : 2004 - 2005
     บทคัดย่อ/Abstract <dd>This study aimed to describe how the risk rate of a terrorist event occurring in the population resident in southernmost provinces of Thailand depends on place and time, using actual data for 2004-2005 obtaining from the police region 9. The outcome is defined as the occurrence of a terrorist event at any location in the province of Narathiwat, Pattani and Yala, together with the four westernmost districts of Songkla Province. The hour of the day, date, month, year and subdistrict where the event took place were recorded. The severity of the outcome was coded as an integer from 1 to 9.<br /> <dd>The risk rate of events for each subdistrict in a specified period of time by dividing the total number of events recorded in the subdistrict over the period by the corresponding population resident in the subdistrict in 1000s according to the 2000 Population Census of Thailand. Grid maps and statistical models were used to investigate the terrorist event distribution by location and time. The analytic method used negative binomial regression model.<br /> <dd>The results revealed that the most frequent periods were between 8 and 9 pm. The most likely days were Wednesdays and Thursdays. The period effects show a steadily increasing trend in the rate during 2004 stabilizing in 2005. The district effects revealed that terrorist event occurrences had expanded to the adjacent districts in Songkla. In conclusion, the terrorist events had expanded and extended to nearby districts. A suitable prevention strategy for reducing the incidence of terrorist events must be implemented urgently together with healing the victim?s families in this region

วัตถุประสงค์ของการศึกษาเพื่ออธิบายอัตราเสี่ยงของเหตุการณ์จากการก่อความไม่สงบในจังหวัดภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทยว่าเกิดได้อย่างไร ตามลักษณะของพื้นที่และเวลาของการเกิดเหตุการณ์ โดยใช้ข้อมูลที่เกิดขึ้นจริงจากการบันทึกของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ส่วนหน้า) ภาค 9 ตัวแปรตามนิยามเป็นเหตุการณ์ที่เกิดจากการก่อความไม่สงบที่เกิดขึ้นในพื้นที่ใดๆครอบคลุมทุกอำเภอในจังหวัด นราธิวาส ปัตตานี ยะลา และอำเภอทางทิศตะวันตกของจังหวัดสงขลา ข้อมูลที่เกี่ยวข้องได้แก่ เวลา วันที่ เดือน ปี ประเภทของเหตุการณ์ และสถานที่เกิดเหตุการณ์ ส่วนความรุนแรงของเหตุการณ์กำหนดเป็นจำนวนเต็มจาก 1 ถึง 9 อัตราเสี่ยงของเหตุการณ์สำหรับแต่ละตำบลในช่วงเวลาที่กำหนด หาได้จากจำนวนเหตุการณ์ทั้งหมดที่บันทึกไว้ในแต่ละตำบลตามช่วงเวลา หารด้วยจำนวนประชากรที่อาศัยอยู่ในตำบล ต่อ 1000 คน ซึ่งจำนวนประชากรในตำบลมาจากการสำมะโนประชากรของประเทศไทย ปี 2543 ใช้แผนที่และโมเดลทางสถิติในการวิเคราะห์และศึกษาการกระจายของอัตราเสี่ยงจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตามพื้นที่และเวลา โดยใช้ตัวแบบทวินามนิเสธ<br /> ผลการศึกษาพบว่า ช่วงเวลาของการเกิดเหตุบ่อยๆ จะเป็นเวลากลางคืนระหว่าง 20.00 น. และ 21.00 น. และมักจะเป็น วันพุธและวันพฤหัส และเมื่อพิจารณาอิทธิพลของช่วงเวลาระหว่าง 2547 - 2548 พบว่าอัตราเสี่ยงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นและมีการขยายตัวไปยังจังหวัดสงขลา กล่าวโดยสรุปการก่อความไม่สงบได้ขยายตัวและแผ่กว้างไปยังอำเภอใกล้เคียงและจะมีความรุนแรงมากขึ้น ดังนั้นกลยุทธ์การป้องกันเพื่อลดเหตุก่อการร้ายจะต้องทำโดยเร่งด่วนและกระทำไปพร้อมๆ กับการให้ความช่วยเหลือเยียวยาแก่ครอบครัวผู้ประสบเหตุในพื้นที
     ผู้ทำ/Author
NamePipop Marohabout
Organization Prince of Songkla University, Pattani Campus
     เนื้อหา/Content
Cover
Abstracts
Acknowledgements
Contents
Chapter 1
Chapter 2
Chapter 3
Chapter 4
Chapter 5
References
Appendix
Vitae
     กลุ่มหัวเรื่อง: ด้านเศรษฐกิจและสังคม
--ปัญหาทางสังคม
     Contributor:
Name: Chamnein Choonpradub
Roles: Advisor
     Publisher:
Name:Prince of Songkla University, Pattani Campus
Address:Pattani
     Year: 2008
     Type: วิทยานิพนธ์/THESES
     Copyrights :
     Counter : 1717
     Counter Mobile: 30