ชื่อเรื่อง/Title Twins Born in Pattani Hospital: 1996-2005 / การคลอดแฝดสองในโรงพยาบาลป?ตตานี: พ.ศ. 2539-2548
     บทคัดย่อ/Abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอุบัติการณ์การเกิดแฝดสอง และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยภูมิหลังของมารดากับการเกิดแฝดสองและประเภทของเพศแฝดสอง โดยทำการศึกษาเก็บข้อมูลมารดาและทารกในโรงพยาบาลปัตตานีย้อนหลังเป็นระยะเวลา 9 ปี ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2539 ถึง 30 กันยายน 2548 จากจำนวนเด็กคลอดทั้งหมด 22,906 ราย พบว่ามีการคลอดทารกแฝดสองจำนวน 221 คู่ จากมารดาที่มาคลอดจำนวน 19,126 ราย โดยจำนวนครั้งของการมาคลอด คือ 22,685 ครั้ง การคลอดทารกแฝดสาม (จำนวน 4 ครั้ง) และการคลอดในโรงพยาบาลปัตตานีจากการส่งตัวมารดาจากโรงพยาบาลอื่น ๆ (จำนวน 3,433 ครั้ง) ถูกตัดออกจากการศึกษาในครั้งนี้ ผลการศึกษาพบว่า อุบัติการณ์การคลอดทารกแฝดสองเป็น 9.7 ต่อการคลอด 1000 ราย (95% CI: 8.4-11.0) สัดส่วนของการเกิดแฝดสองไข่ใบเดียวกันเป็น 0.68 (95%CI: 0.59, 0.78) และจากการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยภูมิหลังกับการเกิดแฝดสองและเพศของทารกแฝดโดยสร้างสมการการถดถอยพหุแบบโลจิสติกส์ ผลการศึกษาพบว่า อายุ และศาสนาของมารดามีความสัมพันธ์ต่อการเกิดของแฝดสอง และไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยภูมิหลังของมารดากับประเภทของเพศทารกแฝดสอง ในการศึกษาครั้งถัดไปควรพิจารณาความสัมพันธ์ที่เป็นไปได้ระหว่างการเกิดแฝดเพศเหมือนกับปัจจัยทางด้านเชื้อชาติในพื้นที

This study aimed to measure the prevalence of twins among all conceptions and to identify demographic factors for twinning in Pattani province of southern Thailand. The sex distribution of twins was also investigated. Data on demographics and reproductive history of the mother were obtained from Pattani Provincial Hospital. From 1 October 1996 to 30 September 2005, 22,906 infants including 221 twin pairs were delivered to 19,126 mothers on 22,685 occasions. Triplets (4 occasions) and referral mothers (3,433 occasions) were excluded from this study. The prevalence of twins was 9.7 per 1000 (95% CI: 8.4-11.0). Based on the fact that 186 of these pairs were of the same sex, the estimated proportion of identical twins was found to be 0.68 (95% CI: 0.59, 0.78). After preliminary analysis of demographic factors, logistic regression was used to model prevalence. The only statistically significant determinants of twinning found were the mother?s age and religion. No associations were found between the sex distribution of the twins and any demographic factors. A more extensive study would need to be done to examine possible associations between prevalence of same-sex twins and ethnic factors in the region.
     ผู้ทำ/Author
NameSuhaila Saesa
Organization Prince of Songkla University, Pattani Campus
     เนื้อหา/Content
Cover
Abstract
Acknowledgement
Contents
Chapter 1
Chapter 2
Chapter 3
Chapter 4
Chapter 5
References
Appendix
Vitae
     กลุ่มหัวเรื่อง: ด้านสุขภาพอนามัย
--สุขอนามัยชุมชน
--หน่วยงานบริการสาธารณสุข
     Contributor:
Name: Phattrawan Tongkumchum
Roles: Advisor
     Publisher:
Name:มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
Address:ปัตตานี (Pattani)
     Year: 2008
     Type: วิทยานิพนธ์/THESES
     Copyrights :
     Counter : 3329
     Counter Mobile: 44