ชื่อเรื่อง/Title ศาสนาพุทธที่ปรากฎในเขตพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ก่อนพุทธศตวรรษที่ 19: การศึกษาจากหลักฐานทางโบราณคดี / Buddhism in Three Southern Border Provinces before the 13th Century: the Study from Archaeological Evidences
     บทคัดย่อ/Abstract บทความนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อที่จะศึกษาอิทธิพลของศาสนาพุทธที่ปรากฏในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ในช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 19 โดยใช้หลักฐานทางโบราณวุตถุ หลักฐานดังกล่าวจะทำให้เราทราบว่ามีศาสนาพุทธนิกายใด ลักธิใดและคติความเชื่อใดบ้าง รวมถึงแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ทางด้านรูปแบบศิลปกรรมที่ปรากฎในดบรารวัตถุทั้งในและต่างประเทศ<br /> จากการศึกาาหลักฐานทางโบราณคดีประเภทโราณวัตถุ สามารถแบ่วช่วงเวลาการเข้ามาของคลื่นศาสนาพุทธในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้เป็น 3 ช่วงด้วยกัน คือ<br /> 1.ช่วงประมาณพุทธศตวรรษที่ 8-12 พุทธศาสนานิกายมหาสังฆิกะได้เข้ามามีบทบาทในบริเวณสามจังหวัดชายแดนภาคใต้แล้ว โดยเฉพาะบริเวณเมืองโบราณยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ที่พบว่าเป็นชุมชนที่ยอมรับศาสนาพุทธนิกายเจติยวาท ซึ่งเป็นนิกายที่แยกออกมาจากนิกายมหาสังฆิกะสันนิษฐานจากการพบชิ้นส่วนสถูปเป็นจำนวนมากภายในศาสนาสถานเมืองโบราณยะรัง เนื่องจากในนิกายเจตยวาท มีหลักคำสอนที่สำคัญข้อหนึ่งคือ การสร้างเจดีย์ การประดับเจดีย์และการบูชาเจดีย์เป็นบุญกุศลที่ยิ่งใหญ่<br /> 2.ช่วงประมาณพุทธศตวรรษที่ 13-16 ศาสนาพุทธมหายาน ตันตระรุ่งเรืองอยู่บนคาบสมุทรมลายู ภายใต้การอุปถัมภ์จากรัฐศรีวิชัยที่มีอำนาจอยู่ในช่วงเวลานั้น<br /> 3.ช่วงประมาณพุทธศตวรรษที่ 16-19 โบราณวัตถุที่ปรากฎแสดงให้เห็นว่ามีชุมชนในบริเวณอำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาสที่นับถือศาสนาพุทธเถรวาท นิกายลังกาวงศ์ที่มีข้อปฏิบัติตนแตกต่างจากศาสนาพุทธมหายานอย่างชัดเจน<br /> ส่วนทางด้านรูปแบบศิลปกรรมนั้น พบว่า รูปแบบศิลปกรรมที่ได้รับอิทธิพลจากต่างประเทศที่เก่าที่สุดคือ ศิลปะแบบอมราวดีในราวพุทธศตวรรษที่ 8 รูปแบบศิลปกรรมที่ได้รับอิทธิพลต่อมา คือ ศิลปะแบบคุปตะ (พุทธศตวรรษที่ 9-11) ซึ่งรูปแบบศิลปะที่ส่งอิทธิพลให้แก่รูปแบบศิปกรรมในเอเซียอาคเนย์อย่างมาก หลักฐานประเภทโบราณวัตถุในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่แสดงถึงศิลปะแบบคุปตะ คือ สถูปจำลอง จากเมืองโบราณยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี<br />

This article aimed at studying the influence of Buddhism in the three southern border provinces before the 13th century through archaeological evidences, particularly antiques. Such evidences revealed the denominations of Buddhism, creeds, and faiths as well as the relationship of the artistic styles in antiques found both in and outside the country. Based on the study of the archaeological evidences, there were 3 periods of Buddhist waves in the three Southern border provinces as follows:<br /> 1. Around the 2th - 6th centuries the influence of Mahasanghikas denomination already existed in the three Southern border provinces, especially in the area of Ancient Yarang City, Yarang District, Pattani Province, where people in the community adopted Chetiyawas doctrine which separated from Mahasanghikas. This assumption was based on the discovery of a lot of stupa remnants in the religious sites of the Ancient Yarang City, since one principal teaching of Chetiyawas was that it was a great merit to build, to decorate, and to respect a chedi (chaitya).<br /> 2. Around the 7th - 10th centuries Tantric Buddhism flourished in the Malay Peninsula under the patronage of Srivijaya state which was powerful at that time.<br /> 3. Around the 10th - 13th centuries there was a community in Tak Bai District, Narathiwas Province, which followed the Theravada Buddhism of Lanka, that was clearly different from Tantric Buddhism. This could be verified by the antiques found in the area.<br /> As for the artistic style, it was found that the oldest form which revealed a foreign influence was Amaravat? style of the 2th century. Later (the 3rd - 5th centuries) it was the Gupta style, which vastly influenced the art in South East Asia. The stupa miniatures at the Ancient Yarang City exemplified the influence of the Gupta style. In the subsequent period (7th - 11th centuries) Tantric Buddhism under the patronage of Pala dynasty in India spread into Thailand?s Southern border area as evident in the sculpture of two-handed Bhodisat-awalokitesuan in the Ancient Yarang City and the bronze stupa miniatures at Kuhapimuk Cave in Yala Province. Meanwhile, Sri lankan artistic style also had influence on this area as found in the head section of Bhodisat-awalokitesuan in the Ancient Yarang City and the stupa miniatures at Wat Phra Put, Tak Bai District, Narathiwas Province.
     ผู้ทำ/Author
Nameวันวิสาข์ ธรรมานนท์
Organization มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
     เนื้อหา/Content
บทความ
     กลุ่มหัวเรื่อง: ด้านศาสนา
--ประวัติศาสนา
     Publisher:
Name:มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
Address:ปัตตานี (Pattani)
     Year: 2549
     Type: บทความ/Article
     Copyrights :
     Counter : 5058
     Counter Mobile: 51