|
บทคัดย่อ/Abstract |
????การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ <br /><br />
1.เพื่อศึกษาระดับความท้อแท้ในการปฏิบัติงานในเรื่องความอ่อนล้าทางอารมณ์ ความด้อยสัมพันธภาพต่อบุคคล ความไม่สมหวังในผลสำเร็จของตน ของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา <br /><br />
2.เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านครอบครัว ปัจจัยด้านการรับรู้บทบาท ปัจจัยด้านการจูงใจในการทำงาน ปัจจัยด้านการค้ำจุนในการทำงาน ปัจจัยด้านความผูกพันต่อองค์การ กับความท้อแท้ในการปฏิบัติงาน ในเรื่องความอ่อนล้าทางอารมณ์ ความด้อยสัมพันธภาพต่อบุคคล ความไม่สมหวังในผลสำเร็จของตน ของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา <br /><br />
3.เพื่อค้นหาปัจจัยสำคัญที่ใช้เป็นตัวพยากรณ์ความท้อแท้ในการปฏิบัติงาน ในเรื่องความอ่อนล้าทางอารมณ์ ความด้อยสัมพันธภาพต่อบุคคล ความไม่สมหวังในผลสำเร็จของตน ของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา <br /><br />
????กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา จำนวน 180 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ คือ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน <br /><br />
????ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ <br /><br />
1.ระดับความท้อแท้ในการปฏิบัติงานของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษาในเรื่องความอ่อนล้าทางอารมณ์ ความด้อยสัมพันธภาพต่อบุคคล อยู่ในระดับต่ำ ส่วนระดับความท้อแท้ในการปฏิบัติงาน ในเรื่องความไม่สมหวังในผลสำเร็จของตน อยู่ในระดับปานกลาง <br /><br />
2.ปัจจัยด้านครอบครัว ปัจจัยด้านการจูงใจในการทำงาน ปัจจัยด้านการค้ำจุนในการทำงาน ปัจจัยด้านความผูกพันต่อองค์การ มีความสัมพันธ์ทางลบกับความอ่อนล้าทางอารมณ์ อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 ส่วนปัจจัยด้านการรับรู้บทบาทมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความอ่อนล้าทางอารมณ์ อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 ปัจจัยด้านการจูงใจในการทำงาน ปัจจัยด้านการค้ำจุนในการทำงาน ปัจจัยด้านความผูกพันต่อองค์การ มีความสัมพันธ์ทางลบกับความด้อยสัมพันธภาพต่อบุคคล อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 ปัจจัยด้านครอบครัว ปัจจัยด้านการจูงใจในการทำงาน ปัจจัยด้านการค้ำจุนในการทำงาน ปัจจัยด้านความผูกพันต่อองค์การ มีความสัมพันธ์ทางลบกับความไม่สมหวังในผลสำเร็จของตนอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01<br /><br />
3. ปัจจัยด้านการรับรู้บทบาท ปัจจัยด้านการจูงใจการทำงาน สามารถพยากรณ์ความท้อเเท้ในการปฏิบัติงาน ในเรื่องความอ่อนล้าทางอารมณ์ ได้ร้อยละ 19.8 ด้วยสมการณ์พยากรณ์ ดังนี้ <br /><br />
ความท้อเเท้ในการปฏิบัติงาน ในเรื่องความอ่อนล้าทางอารมณ์ <br /><br />
= 20.421+.130 การรับรุ้บทบาท -.165 การจูงใจในการทำงาน<br /><br />
ปัจจัยการรับรู้บทบาท ปัจจัยด้านการจูงใจในการทำงาน สามารถพยากรณ์ความท้อเเท้ในการปฏิบัติงาน ในเรื่องความด้อยสัมพันธภาพต่อบุคคล ได้ร้อยละ 10.2 ด้วยสมการพยากรณ์ ดังนี้ <br /><br />
ความท้อเเท้ในการปฏิบัติงาน ในเรื่องความด้วยสัมพันธภาพต่อบุคคล <br /><br />
= 8.447+.043 การรับรู้บทบาท -.052 การจูงใจในการทำงาน <br /><br />
ปัจจัยด้านการรับรู้บทบาท ปัจจัยด้านการจูงใจในการทำงาน ปัจจัยด้านความผูกพันต่อองค์การ สามารถพยากรณ์ความท้อเเท้ในการปฏิบัติงาน ในเรื่องความไม่สมหวังในผลสำเร็จของตน ได้ร้อยละ 23.0 ด้วยสมการพยากรณ์ ดังนี้ <br /><br />
ความท้อเเท้ในการปฏิบัติงาน ในเรื่องความไม่สมหวังในผลสำเร็จของตน <br /><br />
= 26.200-.113 การรับรู้บทบาท -.107 การจูงใจในการทำงาน<br /><br />
-.180 ความผูกพันธ์ต่อองค์การ
The objectives of this research were 1) to study the level of job burnout of primary school administrators Changwat Pattani in the light of emotional exhaustion, depersonalization and personal unfulfillment 2) to investigate the relationship between job burnout of primary school adminitrators in the light of emotional exhaustion, depersolization and personal unfulfillment and factors related to family, role recorgnition, job motivation, job support and organizational commitment 3) to identify factors which exhaustion, depersonalization and personal unfulfillment. The subjects were 180 primary school administrators in Changwat Pattani. A rating-scale questionnaire was used as a reserach instrument to callect data relating the factors was ranged from .78 to .94, and that relating job burnout was ranged from .85 to .89. The analyses of data were Percentage, Pearson's correlation coefficients, and a multiple regression analysis.<br />
The finding were as follows:<br />
1. The level of job burnout of the primary school administrators in Changwat Pattani in the light of emotional exhaustion and depersonalization were low but moderate in the light of personnel unfulfillment. <br />
2. The factors concerning family, job motivation, job support and organizational commitment were significantly related negatively to the job burnout in the light of emotional exhaustion at .01 level. While, role recognition factor was significantly related positively at .05 level. The job motivation, job support and organizational commitment factors were significantly related negatively to the job burnout in the light of depersonalization at .01. Family, job motivation, job support and organizational of personnal unfulfillment at .01 level.<br />
3. Role recognition and job motivation factors could predict the job burnout in the light of emotional exhaustion at 19.8% with the predicting regression equation as follows:<br />
Job burnout in the light of emotional exhaustion<br />
= 20.421+.130 role recognition -.165 job motivation. <br />
Role recognition and job motivation could predict the job burnout in the light of depersonalization at 10.2% with the predicting regression equation as follows:<br />
Job burnout in the light of depersonalization<br />
= 8.447+.043 role recognition -.052 job motivation.<br />
Role recognition, job motivation and organizational commitment could predict the job burnout in the light of personal unfulfillment at 23.0% with the predicting regression equation as follows:<br />
Job burnout in the light of personnal unfulfillment<br />
=26.200+.113 role recognition -.107 job motivation<br />
-180 organizational commitment. |