|
|
|
ชื่อเรื่อง/Title |
การทบทวนองค์ความรู้เรื่อง สภาพปัญหา และมาตรการในการจัดการกับปัญหาการใช้สารเสพติดในภาคใต้ / A systematic review of the substance abuse situation and management strategies in Southern Thailand |
|
บทคัดย่อ/Abstract |
สารเสพติดที่พบมากในภาคใต้ ได้แก่ กระท่อม กัญชา ยาบ้า เฮโรอีน ยาอี ยาเค และยาแก้ไอผสมโคเคอีน การป้องกันและการแก้ไขปัญหาสารเสพติดในภาคใต้มีลักษณะเช่นเดียวกับภาคอื่นๆ ที่ต้องปฎิบัติตามนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล คือ ยุทธศาสตร์ "พลังแผ่นดิน" โดยใช้หลัก "การป้องกันนำหน้าการปราบปรามผู้เสพต้องได้รับการรักษา ผู้ค้าต้องได้รับการลงโทษโดยเด็ดขาด" สำหรับการดูแลรักษาผู้ติดสารเสพติดในภาคใต้มี 3 ลักษณะ คือ ลักษณะแรกอยู่ในความดูแลของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งมอบนโบายให้โรงพยาบาลอำเภอทุกแห่งมีศักยภาพในการบำบัดรักษาผู้เสพติดเพิ่มเติมจากการที่มีศูนย์บำบัดยาเสพติดอยู่ก่อนแล้ว ลักษณะที่ 2 เป็นความรับผิดชอบชุมชน โดยเฉพาะองค์กรทางศาสนาซึ่งจัดเป็นสถานบำบัดตามหลักศาสนาอิสลาม และศาสนาพุทธ ส่วนลักษณะที่ 3 เป็นความรับผิดชอบของกองทัพบก ร่วมกับกรมราชทัณฑ์กระทรวงมหาดไทย ได้จัดตั้งโรงเรียนวิวัฒน์พลเมืองเพื่อฟื้นฟูร่างกายและจิตใจผู้ต้องโทษคดียาเสพติดที่ พ้นโทษจากกรมราชทัณฑ์
Substances commontly used in the Southern part of Thailand include Krathom(mitragyna). Canabis, methamphetamine, heroien, ectasy, ketamine and codiem-cough syrup. The prevention and control of substance abuse in the South are similar to those in the other parts of Thailand which comply the government urgen policy of the "National coalition Strategy". This policy in based on the priciple that "prevention should come before control, drug users must be streated and drug dealers must be arrested". The management of the substance dependents can be classified into the systems. The first system is carried out under the responsibility of the Ministry of Public Health which declares that all community hospitals have a potential to set up a treatment program for drug abusers. The second system is under the responsibility of the community, especially the local religious organizations, both Buddhist and Islamic ways. The ttird system is the collaborative program between the Military and the Department of Detention of the Ministry of Interior Affairs. A special kind of the "people Development School" was organized, functioning mainly for physical and psychologica rehabilitation of the drug users who are released from the prison or detention centres. |
|
ผู้ทำ/Author |
Name | ช่อลดา พันธุเสนา | Organization | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. คณะพยาบาลศาสตร์ | Name | สาวิตรี อัษณางค์กรชัย | Organization | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. คณะพยาบาลศาสตร์ | Name | สุจิตรา จรจิตร | Organization | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. ภาควิชาสารัตถศึกษา | Name | อมรา ศรีสัจจัง | Organization | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. ภาควิชาสารัตถศึกษา | Name | สมลักษณ์ สังข์เกษม | Organization | สำนักงานป.ป.ส. ภาคใต้ | Name | ขวัญตา บาลทิพย์ | Organization | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. คณะพยาบาลศาสตร์ | Name | เยาวรัตน์ มัชฌิม | Organization | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. คณะพยาบาลศาสตร์ | Name | พิไลรัตน์ ทองอุไร | Organization | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. คณะพยาบาลศาสตร์ |
|
|
เนื้อหา/Content |
|
|
กลุ่มหัวเรื่อง: |
ด้านเศรษฐกิจและสังคม
--ปัญหาทางสังคม
|
|
Publisher: |
Name | : | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ | Address | : | สงขลา (Songkhla) |
|
|
Year: |
2545 |
|
Type: |
บทความ/Article |
|
Copyrights : |
|
|
Counter : |
1938 |
|
Counter Mobile: |
35 |
|