ชื่อเรื่อง/Title คุณสมบัติของบัณฑิตแพทย์ที่สังคมต้องการ : ความคิดเห็นของผู้นำชุมชนทุกวัฒนธรรมหลักใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้
     บทคัดย่อ/Abstract ????การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา การยอมรับแพทย์ ความพึงพอใจในบริการทางการแพทย์จากสถานพยาบาลของรัฐ คุณสมบัติของบัณฑิตแพทย์ที่สัมคมต้องการ และปัจจัยที่เอื่อต่อการปฏิบัติงานขิงบัณฑิตแพทย์ในชุมชนตามความคิดเห็นของผู้นำชุมชนทุกวัฒนธรรมหลักในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ รวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ แบบเจาะลึกกลุ่มผู้นำชุมชนในพื้นที่ คือผู้นำชุมชนมุสลิม ผู้นำชุมชนพุทธ และผู้นำชุมชนจีน<br /> ????ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ผู้นำชุมชนมีความเห็นต่อสถาบันการศึกษาที่แพทย์เรียนจบ และเพศของแพทย์ไม่มีผลต่อการตัดสินใจในการไปรับบริการการักษาพยาบาล ยกเว้นผู้ป่วยเพศหญิงที่ต้องการรับการรักษาโรคเฉพาะสตรีถ้าเลือกได้ต้องการรับการรักษาจากแพทย์เพศเดียวกัน ขณะที่ความแตกต่างด้านศาสนาและภาษาระหว่าแพทย์กับผู้ป่าว ไม่ได้เป็นอุปสรรคในการเข้ารับบริการ แต่ผู้ป่วยมุสลิมถ้าเลือกได้ก็อยากที่จะรับบริการกับแพทย์ที่เป็นมุสลิม<br /> ????ผู้นำชุมชนยอรับว่าการบริการทางการแพทย์ของสถานพยายบาลของรัฐดีกว่าช่วงที่ผ่านมา แต่สิ่งที่ต้องปรับปรุง คือ ขั้นตอนในการบริการ ระยะเวลาการรอตรวจ รวมทั้งจัดหาอุปกรณ์ทางการแพทย์ใช้ในโรคทั่วไปและโรคเฉพาะทางต้องจัดอย่างเพียวพอ<br /> ????คุณสมบัติของแพทย์ที่ผู้นำชุมชนต้องการ ส่วนใหญ่ต้องเป็นแพทย์ที่เก่ง ชำนาญในการใช้เทคโนโลยี อุปกรณ์และเครื่องมือทางการแพทย์ และศึกษาหาความรู้ในสาขาวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตามผู้นำชุมชนต้องการแพทย์ที่เป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม ในการทำงานมากกว่าแพทย์ที่เก่ง รวมทั้งมีมนุษยสัมพันธ์ดี มีจิตวิทยาในการพูด มีความสามารถในการสื่อสาร มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ เสียสละ อดทน และมีความเป็นกันเองกับทุกคน<br /> ????ปัจจัยที่เอื่อต่อการปฏิบัติงานในพื้นที่อย่างยั่งยืน มี 3 ประการ คือ ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ ปัจจัยสนับสนุนจากชุมชน และปัจจัยระบบราชการ

The objectives of this research were to study the doctor acceptation, pleasant of medical service of public hospital, society's expected qualification and factors facilitating the working of medical doctor according to the opinions of main cultural community leaders in three Southern Border Provinces. The collecting data were purposive interviewing the community leaders consisting of 18 Muslims, 18 Buddhists and 12 Chinese.<br /> The results of the research were as follows. The community leaders stated that the medical institutions and the gender of medical doctor did not effect the choosing of medical services accept the famale pateint which stated that if they could choose, they prefer female doctor. In addition, different religions and languages were not the obstacles in using medical service but if they could choose, Muslim patients prefer Muslim doctors as they belived that Muslim doctors were not only responsible for the mediacl treatment but also responsible for Allah. And it could better if the doctor could apesk malay so that they a directly communicated; consequently they would trust and felt confident with the working of the docters.<br /> The community leaders also stated that the medical services of public hospitals were better than the past. However, it still needs some improvements such as the process of medical equipment using in caring general diseases and acute illnesses.<br /> For the medical doctor's qualifications, the community leaders needed capable doctors and had skill in using medical technology and equipment, continuously study in medical professional. However, they preferred doctors which good morality and ethical more than capable doctor, beside that they prefered doctor who have a good human relation, good speaking especially could speak the same language with the patients and have cultural understanding. Moreover the doctors should have emotional maturity, scarified, enduringness, self-confidence, friendliness and strategic working. <br /> There were 3 factors sustaining the working in local areas. First, the personel factors, rhese factors were local people, being conscious, being generous and being a patriot of maternity. Second, the supporting factors, these factors were the cooperation among communities, local administrative organizations and others public offices. Third, public factors, these included the welfare from the government, the life security, the additional benefits, working facility, medical equipment and supportive personnel, and career promotion.
     ผู้ทำ/Author
Nameอาหวัง ล่านุ้ย
Organization มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
Nameพะเยาว์ ละกะเต็บ
Organization มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
Nameสิริรัตน์ บำรุงกรณ์
Organization มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
Nameกมลาศ สาลี
Organization มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
     เนื้อหา/Content
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัย...
บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย
บทที่ 4 ผลการวิจัย
บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล...
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
เอกสารอ้างอิง
ภาคผนวก
     กลุ่มหัวเรื่อง: ด้านเศรษฐกิจและสังคม
--ผู้นำชุมชน
     Contributor:
Name: สถาบันวิจัยและพัฒนาสุขภาพภาคใต้ (วพส.)
Roles: สนับสนุนทุนการวิจัย
     Publisher:
Name:มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
Address:ปัตตานี (Pattani)
     Year: 2547
     Type: งานวิจัย/Research Report
     Copyrights :
     Counter : 3065
     Counter Mobile: 35