|
บทคัดย่อ/Abstract |
????การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ <br />
1.เพื่อศึกษาทัศนะของผู้บริหารและครูต่อการปฏิบัติงานของคณะกรรมการการประถมศึกษาจังหวัด <br />
2.เพื่อเปรียบเทียบทัศนะของผู้บริหารและครู <br />
3.เพื่อเปรียบเทียบทัศนะของผู้บริหารที่มีเพศต่างกัน <br />
4.เพื่อเปรียบเทียบทัศนะของครูที่เพศ อายุ ประสบการณ์การทำงาน และจังหวัดที่ปฏิบัติงานต่างกัน <br />
????กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหารและครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานประถมศึกษาจังหวัด ในเขตการศึกษา 2 จำนวน 388 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม <br />
????ผลการวิจัย พบว่า <br />
1.ทัศนะของผู้บริหารและครูต่อการปฏิบัติงานของคณะกรรมการการประถมศึกษาจังหวัด อยู่ในระดับเห็นด้วย <br />
2.ทัศนะต่อการปฏิบัติงานในแต่ละองค์ประกอบของคณะกรรมการการประถมศึกษาจังหวัด ระหว่างผู้บริหารกับครูไม่แตกต่างกัน <br />
3.ทัศนะต่อการปฏิบัติงานในแต่ละองค์ประกอบของคณะกรรมการการประถมศึกษาจังหวัด ระหว่างผู้บริหารที่เพศต่างกัน ทัศนะไม่แตกต่างกัน <br />
4.ทัศนะต่อการปฏิบัติงานในแต่ละองค์ประกอบของคณะกรรมการการประถมศึกษาจังหวัด ระหว่างครูที่อายุ ประสบการณ์การทำงานต่างกัน ทัศนะไม่แตกต่างกัน แต่ระหว่างครูที่เพศต่างกัน ทัศนะต่อการปฏิบัติงานในองค์ประกอบรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และองค์ประกอบการปฏิบัติงานอื่นที่กฎหมายกำหนด แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ <br />
5.ทัศนะของครูที่ปฏิบัติงานในจังหวัดต่างกันต่อการปฏิบัติงานของคณะกรรมการการประถมศึกษาจังหวัดแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อทดสอบค่าเฉลี่ยรายคู่ พบว่าทัศนะของครูจังหวัดยะลา ปัตตานี สตูล สูงกว่าทัศนะของครูจังหวัดนราธิวาส ข้อเสนอแนะของผู้บริหารและครูต่อการปฏิบัติงานของคณะกรรมการการประถมศึกษาจังหวัด ควรกำหนดหลักเกณฑ์การแต่งตั้ง ย้าย ผู้บริหารการศึกษาให้ชัดเจน ควรกำหนดวาระการดำรงตำแหน่งของผู้บริหารการศึกษา ไม่ควรพิจารณา 2 ขั้น โดยการโหวตเสียง ควรจัดสรรงบประมาณค่าใช้สอยให้แก่โรงเรียน เพื่อสามารถนำไปพัฒนาบุคลากรในโรงเรียนได้
This research was intended : (1) to investigate the opinions of administrators and teachers toward performance of Privincial primary Education Commission (2) to compare the opinions of administrators and teachers (3) to compare the opinions of administrators with sex difference and (4) to compare the opinions of teachers with difference in sex, age, working experience and province in which they work. A total of 388 subjects under were 53 administrators and 335 teachers in the Office of Provincial Primary Education in Educational Region II. The instrument for collecting data was a questionnaire comprising three parts : part one was a checklist on the respondents background information, part two consisted of a 5-point Likert scale question on 7 factors of task performances, with the reliability value of .81-.98 and part three was an open-ended questionnaire. The statisics were employed in the data analysis using percentage, arithmetic mean, standard deviation, t-test, F-test and the Tukey's HSD test. <br />
The results indicated that : (1) The overall opinions of administrators and teachers toward performance of the Provincial Primary Education Commission were at a "AGREE" level (x=3.77). (2) There was no significant difference in opinion between administrators and teachers. (3) There was no significant difference in opinions of administrators with sex difference. (4) There was no significant difference in opinions of the teachers with difference in age, and working experience. However, those teachers with sex difference was significantly different in overall factors of task (P=.033), and in factor of other inposed of teachers with different provinces in which they work were found significant (P=.0000), through the Tukey's HSD test, it was found that teachers working in Yala, Pattani ans Satun had a higher opinion than those in Narathiwat (P<.01). (6) The subjects' suggestions : The Commission should discretely of educational administrators at all levels : a definite term in the office for educational administrators should also be determined : measures for salary promotion for administrative and teaching staff should not be done through voting ; and for school personnel development to be possible, budgets for petty expenses should be independentlyallocated to individual schools. |