ชื่อเรื่อง/Title กิจกรรมการพัฒนาบุคลากรของสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัด ในเขตการศึกษา 2 / Personnel Development Activities of the office of the Provincial Primary Education in Educational Region II
     บทคัดย่อ/Abstract <dd>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันในการจัดกิจกรรมการพัฒนาบุคลากร ของสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัด ในเขตการศึกษา 2 และเพื่อเปรียบเทียบการจัดกิจกรรมการพัฒนาบุคลากร ตามการรับรู้ของข้าราชการที่มีลักษณะแตกต่างในด้านเพศ อายุ ประสบการณ์ <br /> <dd>กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ ข้าราชการพลเรือนของสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัด ในเขตการศึกษา 2 จำนวน 194 คน และข้าราชการครู จำนวน 388 คน รวม 582 คน เครื่องมือที่ใช้ คือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าที <br /> <dd>ผลการวิจัยพบว่า <br /> 1.การจัดกิจกรรมการพัฒนาบุคลากร โดยรวมอยู่ระดับปานกลาง <br /> 2.ข้าราชการพลเรือนและข้าราชการครู มีการรับรู้ต่อการจัดกิจกรรมการพัฒนาบุคลากร โดยรวมไม่แตกต่างกัน <br /> 3.ข้าราชการพลเรือนที่มีอายุ เพศต่างกัน มีการรับรู้ต่อการจัดกิจกรรมการพัฒนาบุคลากร โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 สำหรับข้าราชการครูที่มีอายุ เพศต่างกัน มีการรับรู้ต่อการจัดกิจกรรมพัฒนาบุคลากร โดยรวมไม่แตกต่างกัน <br /> 4.ข้าราชการพลเรือนที่มีประสบการณ์การดำรงตำแหน่งต่างกัน พบว่ามีการรับรู้ต่อการจัดกิจกรรมการพัฒนาบุคลากรโดยรวมไม่แตกต่างกัน และข้าราชการครูที่มีประสบการณ์การดำรงตำแหน่งต่างกัน พบว่า มีการรับรู้ต่อการจัดกิจกรรมการพัฒนาบุคลากรโดยรวมไม่แตกต่างเช่นเดียวกัน

This reseach was to investigate the current situations of the provision for personnel development activities of the Office of Provincial primary Educational Region II, and to compare the extent of such provision for those personnel development activities as perceived by goverment officials with a difference in gender, age and work expereivce. The subjects were a total of 582 goverment officials divided into 194 office staff and 388 teaching staff in the academic year 1991. To collect data, the instrucment comprised three parts: part one was a checklist on the subjects' idiosyncratic information, part two was a 60-item, 5-point Likert-scale questionnaire covering 5 aspects of personnel development activities, namely (i) inservice training, (ii) supports of personnel for an extensive training and/or educational observations in other relevant government agencies, (iii) personnel development through paticipative process, (iv) self-taugh development and (v) personnel development through administrative process, and part three was open-ended question concerning issues, problems of and suggestions for the better provision of personnel development activities. The statistical values of percentage, arithmetic mean, standard deviation and a t0test were emp;oyed in the data analysis.<br /> The research findings was as follows:<br /> 1. Through absolute criteria, the overall extent of personnel development activities as perceived by the subjects was a moderate level.<br /> 2. There was no significant difference in the perception of personnel development activities among office staff and teaching staff.<br /> 3. The office staff with a difference in age and gender perceived the overall view of the personnel development activities significantly different at a .01 level, whereas the teaching staff counterparts did not.<br /> 4. The office staff with different work experience did not perceive the overall view of the personnel development activaties differently; neither did the teaching staff.
     ผู้ทำ/Author
Nameภัทราพร ศิริโภคา
Organization มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, บัณฑิตวิทยาลัย
     เนื้อหา/Content
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบาญ
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 2 เอกสารและการวิจัยที่เกี่ยวข้อง (หน้า 10-39)
บทที่ 2 เอกสารและการวิจัยที่เกี่ยวข้อง (หน้า 40-70)
บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ประวัติผู้เขียน
     กลุ่มหัวเรื่อง: ด้านการศึกษา
--บุคลากรทางการศึกษา
     Contributor:
Name: สุวิทย์ บุญช่วย
Roles: ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
     Publisher:
Name:มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
Address:ปัตตานี (Pattani)
     Year: 2535
     Type: วิทยานิพนธ์/THESES
     Copyrights :
     Counter : 1838
     Counter Mobile: 35