ชื่อเรื่อง/Title การปฏิบัติงานของครูอัตราจ้าง สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ ใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ / Performance of Non-Permanent Teachers under The Office of Primary Education Commission in Southern Border Provinces
     บทคัดย่อ/Abstract ????การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ <br /> 1.เพื่อศึกษาผลการปฏิบัติงานของครูอัตราจ้างในทัศนะของผู้บริหารและครูวิชาการของโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ ใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ <br /> 2.เพื่อเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานของครูอัตราจ้างที่มีสาขาวิชาที่จบ ประสบการณ์การทำงาน และภูมิลำเนา แตกต่างกันตามทัศนะของผู้บริหารและครูวิชาการของโรงเรียน <br /> ????กลุ่มตัวอย่างเป็นครูอัตราจ้าง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ ใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ จำนวน 216 คน สุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ สถิติที่ใช้ คือค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าที ค่าเอฟ และทดสอบความแตกต่างระหว่างคู่โดยวิธีเชฟเฟ่ <br /> ????ผลการวิจัย มีดังนี้ <br /> 1.ระดับผลการปฏิบัติงานของครูอัตราจ้าง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ ใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ในทัศนะของผู้บริหารและครูวิชาการของโรงเรียนโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก <br /> 2.ผลการปฏิบัติงานของครูอัตราจ้าง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ ใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ระหว่างทัศนะของผู้บริหารและครูวิชาการของโรงเรียน โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน <br /> 3.ผลการปฏิบัติงานของครูอัตราจ้าง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ ใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ปฏิบัติงานตามสาขาวิชาแตกต่างกัน ในทัศนะของผู้บริหารและครูวิชาการของโรงเรียน โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน <br /> 4.ผลการปฏิบัติงานของครูอัตราจ้าง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ ใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่มีประสบการณ์ทำงานแตกต่างกัน ในทัศนะของผู้บริหารและครูวิชาการของโรงเรียน โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน <br /> 5.ผลการปฏิบัติงานของครูอัตราจ้าง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ ใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่มีภูมิลำเนาแตกต่างกัน ในทัศนะของผู้บริหารและครูวิชาการของโรงเรียน โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน

This research was intended (1) to study the performance of non-permanent teachers as perceived by the administrators and academic staff of the schools under the Office of National Primary Education Coomission in 5 southern border provinces, 2) to compare the performance of the non-performanent teachers with different academic major graduated, job experience, and permanent residence as perceived by the administrators and academic staff of the schools. The subjects of the study were 216 non-permanent teachers of the schools under the Office of National Primary Education Commission in 5 southern border provinces. They were selected by proportional stratified random sampling. The data was collectted from administrators and academic staff of the schools where three were non-permanent teachers using a questionnaire constructed by the researcher, which consisted of a rating-scale and open-ended questions of which the reliability was .9550. The analysis of data was performed by SPSS/PC+ computer program to caculate percentages, arithmetic means, standard deviations, t-test, F-test, and a multiple comparison with Scheffe Method.<br /> The research findings were as follows:<br /> 1. Overall, the level of performance of the non-permanent teachers under the Office of National Primary Education Commission in 5 southern border provinces as perceived by the school abministrators and academic staff was high. The result was the same when each aspect of performance was considered, with the mean of student activities as the highest and that of community relations the lowest.<br /> 2. The administrators and the academic staff perceived that the non-permanent teachers performed similarly, both overall and in each aspect of performance.<br /> 3. Comparing non-permanent teachers teaching different subjects related to their academic mojors, they performed similarly both overall and in each aspect.<br /> 4. The non-permanent teachers teaching different job experiences performed similarly both overall and in each aspect.<br /> 5. The non-permanent teachers with different permanent residences also performed similarly both overall and in each aspect.<br /> As mentioned in the findings, the level of perfomance of the non-permanent teachers was high. This result was beneficial to be a guideline to improve the quality of human resource development. Therefore, the educational institutions with non-permanent teachers should cooperate in the development of non-permanent teachers' capability in community relations, which, from the findings, was lower than instruction and student activities.
     ผู้ทำ/Author
Nameสมบูรณ์ นุ้ยช่วย
Organization มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, บัณฑิตวิทยาลัย
     เนื้อหา/Content
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบาญ
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 2 วิธีการวิจัย
บทที่ 3 ผลการวิจัย
บทที่ 4 อภิปรายผลการวิจัย
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ประวัติผู้เขียน
     กลุ่มหัวเรื่อง: ด้านการศึกษา
--บุคลากรทางการศึกษา
     Contributor:
Name: ทวี ทิมขำ
Roles: ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
     Publisher:
Name:มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
Address:ปัตตานี (Pattani)
     Year: 2541
     Type: วิทยานิพนธ์/THESES
     Copyrights :
     Counter : 2905
     Counter Mobile: 30