ชื่อเรื่อง/Title บทบาทผู้นำอาสาพัฒนาชุมชนในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ / The Roles of the Community Development Volunteer Leaders in Development of Community Economy in the Southern Border Provinces of Thailand
     บทคัดย่อ/Abstract <dd>วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1) เพื่อศึกษาความรู้ความเข้าใจและบทบาทในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนของผู้นำอาสาพัฒนาชุมชนในจังหวัดชายแดนใต้ 2) เพื่อศึกษาการได้รับคำแนะนำและสนับสนุนจากเจ้าหน้าที่รัฐ การได้รับคำแนะนำและสนับสนุนจากผู้นำท้องถิ่น และทัศนคติการปฏิบัติงานในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนของผู้นำอาสาพัฒนาชุมชนในจังหวัดชายแดนใต้ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ความเข้าใจ การได้รับคำแนะนำและสนับสนุนจากเจ้าหน้าที่รัฐ การได้รับคำแนะนำและสนับสนุนจากผู้นำท้องถิ่นและทัศนคติการปฏิบัติงานในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนของผู้นำอาสาพัฒนาชุมชนในจังหวัดชายแดนใต้ คณะวิจัยเลือกประชากรจากจังหวัดสงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส โดยเลือกสุ่มตัวอย่างแบบวิธีการสำรวจ และใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน สถิติที่ใช้ ค่าความถี่ ค่าร้อยล่ะ ค่าที ค่าเอฟ ทดสอยรายคู่ของเชฟเฟ่ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน<br /> <dd>ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้<br /> 1. ผู้นำอาสาพัฒนาชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนอยู่ในระดับปานกลาง<br /> 2. ผู้นำอาสาพัฒนาชุมชนในแต่ละจังหวัด เพศ อายุ รายได้ต่อเดือน เงินออมต่อเดือน ตำแหน่งทางสังคม และวาระในการดำรงตำแหน่ง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนที่ไม่แตกต่างกัน<br /> 3. ผู้นำอาสาพัฒนาชุมชนมีบทบาทในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนอยู่ในระดับปานกลางมากที่สุด<br /> 4. ผู้นำอาสาพัฒนาชุมชนในแต่ละจังหวัด และลักษณะของชุมชนมีบทบาทในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนที่แตกต่างกัน ส่วนผู้นำอาสาพัฒนาชุมชนในแต่ละเพศ อายุ ศาสนา สถานภาพทางครอบครัว สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ต่อเดือน เงินออมต่อเดือน ตำแหน่งทางสังคม และวาระในการดำรงตำแหน่งมีบทบาทในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนที่ไม่แตกต่างกัน<br /> 5. ผู้นำอาสาพัฒนาชุมชนได้รับคำแนะนำและสนุบสนุน จากเจ้าหน้าที่ของรัฐ ในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนอยู่ในระดับปานกล่งมากที่สุด<br /> 6. ผู้นำอาสาพัฒนาชุมชนในแต่ละจังหวัด เพศ อายุ เงินออมต่อเดือน และวาระในการดำรงตำแหน่งได้รับคำแนะนำและสนุบสนุน จากเจ้าหน้าที่ของรัฐ ในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิตที่ระดับ 0.01 0.01 0.01 และ0.01 ส่วนผู้นำอาสาพัฒนาชุมชนในแต่ละอายุ ศาสนา สถานภาพทางครบครัว สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา ลักษณะของชุมชน รายได้ต่อเดือน และตำแหน่งทางสังคมได้รับคำแนะนำและสนุบสนุน จากเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ไม่แตกต่างกัน<br /> 7. ผู้นำอาสาพัฒนาชุมชนได้รับคำแนะนำและสนุบสนุน จากผู้นำท้องถิ่นในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนอยู่ในระดับปานกลางมากที่สุด<br /> 8. ผู้นำอาสาพัฒนาชุมชนในแต่ละเพศ สถานภาพครอบครัว ลักษณะของชุมชน และวาระในการดำรงตำแหน่งได้รับคำแนะนำและสนุบสนุน จากผู้นำท้องถิ่นในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนที่แตกต่างกัน ส่วนผู้นำอาสาพัฒนาชุมชนในแต่ละจังหวัดอายุ ศาสนา สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ต่อเดือน เงินออมต่อเดือน และตำแหน่งทางสังคมได้รับคำแนะนำและสนุบสนุน จากผู้นำท้องถิ่นในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนที่ไม่แตกต่างกัน<br /> 9. ผู้นำอาสาพัฒนาชุมชนมีทัศนคติในการปฏิบัติงานการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนในระดับสูงมากที่สุด<br /> 10. ผู้นำอาสาพัฒนาชุมชนในแต่ละจังหวัด เพศ อายุ ศาสนา สถานภาพทางครอบครัว สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา ลักษณะของชุมชน อาชีพ รายได้ต่อเดือน เงินออมต่อเดือน ตำแหน่งทางสังคม และวาระในการดำรงตำแหน่งมีทัศนคติในการปฏิบัติงานการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนที่ไม่แตกต่างกัน<br /> 11. ประชาชนและข้าราชการระดับตำบลมีทัศนะต่อผู้นำอาสาพัฒนาชุมชนมีบทบาทในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนอยู่ในระดับปานกลางมากที่สุด<br /> 12. ประชาชนและข้าราชการระดับตำบลในแต่ละจังหวัด เพศอายุ สถานภาพทางครอบครัว สถานภาพสมรส การศึกษา ลักษณะของชุมชน อาชีพ และรายได้ต่อเดือนมีทัศนะต่อผู้นำอาสาพัฒนาชุมชนมีบทบาทในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนที่แตกต่างกัน ส่วนประชาชนและข้าราชการระดับตำบลในแต่ละศาสนามีทัศนะที่ไม่แตกต่างกัน<br /> 13. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเศรษฐกิจชุมชนที่แตกต่างกัน ส่วนประชาชนและข้าราชการระดับตำบลในแต่ละศาสนามีทัศนะที่ไม่แตกต่างกัน การได้รับคำแนะนำและสนับสนุนจากเจ้าหน้าที่ของรัฐ และทัศนคติในการปฏิบัติงานการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน มีความสัมพันธ์ทางบวกกับบทบาทในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 0.05 และ0.05 ตามลำดับ และการได้รับคำแนะนำและสนับสนุนจากผู้นำท้องถิ่นไม่มีความสัมพันธ์กับบทบาทในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน

The objectives of this research are 1) to study the knowledge, the understanding and the roles in the community economy development (CED) of the community development volumeer leaders (CDVL) in the southern border provinces (SBD) 2) to study the sdvice and the supporting by the government officers, the advice and the supporting by the local leaders and the performance attitude in the CED of the CDVI, in the SBP 3) to study the relation of the advice and the supporting by the local leaders and the performance attitude with the roles in CED of the CDVL in the SBP.<br /> In the research the researchers have selected of the targeted population in the five southern border provinces, namely Songkhla, Satun, Pattani, Yala and Narathiwat, collecting data by the survey method using the multistage sampling. The number of sample size are 2,400, divide in to 150 CDVL, 1,500 people and 750 village government officers. Data were analyzed by SPSS/PC+ computer programs. The researchers have presented the result in the from of diagram by showing the frequency, pecentage, t-test, scheffe's method and peason's coefficient of correlation.<br /> The result of the research are as follow:<br /> 1. Most of the CDVL have the knowledge and the understanding about the CED in the moderate level.<br /> 2. The CDVL in each province, gender, age, religion, the family status, the marial status, the level of the education, the nature of the community, occupation, income per month, the saving money per month, social position and of position have no difference in knowledge and the understanding in the CED.<br /> 3. Most of the CDVL play roles in the CED in the moderate level.<br /> 4. The CDVL in each province and the nature of community play the different roles, were significant difference at 0.01 and 0.05 level respectively. But the CDVL in each gender, age, religion, the family status, the marital status, the level of the education, occupation, income per month, saving money per month, social position and period of position have no difference in playing roles in the CDE.<br /> 5. Most of the CDVL were advised and supported by the government officers in the CED in the moderate level.<br /> 6. The CDVL in each province, gender, occupation, saving money per month and period of position were advised and supported by the government officers in the CDE, were significant difference at 0.01, 0,01, 0.01, 0,01 and 0.001 respectively. But the CDVL in each age, religion, the family status, the marital status, the level of the education, the nature of the community, income per month and the social position were advised and supported by the government officers in the CED not differently.<br /> 7. Most of the CDVL were advised and supported by the local leaders in the CED in the moderate level.<br /> 8. The CDVL in each gender, the family status, the nature of the community and period of position were advised and supported by the local leaders in the CED, were significant difference at 0.05, 0.05, 0.001 and 0.001 respectively. But the CDVL in each province, age, religion, the marital status, the level of the education, occupation, income per month, saving money per month and the social position were advised and supported by the local leaders in the CED not differently.<br /> 9. CDVL's attitude in performance in ced are the highest level.<br /> 10. The CDVL in each province, gender, age, religion, the family status, marital status, the level education, nature of the community, occupation, income per month, saving money per month, social position and period of position have the attitude in performance in CED were found no different. 11. Most of the people and the village government officers have the attitude that the CDVL play roles in the moderate level.<br /> 12. The people and the village government officers in each province, gender, age, religion, the family status, marital status, education, nature of the community, occupation, income per month have the attitude that the CDVl play roles in CED were significant difference at 0.01, 0.001, 0.01, 0.001, 0.001, 0.001, 0.001, and 0.001 respectively. But the people and the village government officers in each religion bear no different attitude.<br /> 13. Th knowledge and understanding about CED, the advice and the supporting by the government officers and the attitude in performance in community economy development have the positive relation with the roles in CED were significant at 0.05, 0.05 and 0.05 respectively. For the advice and the supporting by the local leaders bear no relation in the roles of CED.
     ผู้ทำ/Author
Nameดลมนรรจน์ บากา
Organization มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Nameเกษตรชัย และหีม
Organization มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Nameอับดุลเลาะ อับรู
Organization มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Nameมะรอซี มะอิง
Organization มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
     เนื้อหา/Content
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (หน้า 10-35)
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง(หน้า 36-64)
บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย
     กลุ่มหัวเรื่อง: ด้านเศรษฐกิจและสังคม
--ผู้นำชุมชน
--นโยบายและการพัฒนา
     Contributor:
Name: กองทุนมอ. เพื่อวิจัยและพัฒนาภาคใต้
Roles: สนับสนุนทุนการวิจัย
     Publisher:
Name:มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
Address:ปัตตานี (Pattani)
     Year: 2543
     Type: งานวิจัย/Research Report
     Copyrights :
     Counter : 4495
     Counter Mobile: 37