ชื่อเรื่อง/Title การรับข่าวสารจากสื่อมวลชนของผู้นำมุสลิมที่มีผลต่อการชี้นำประชาชนเพื่อพัฒนาท้องถิ่นในจังหวัดชายแดนภาคใต้ / Mass Media Reception among the Muslim Leaders and Its Effective Guidelines Towards Rural Development in the Southern Border Provinces of Thailand
     บทคัดย่อ/Abstract <dd>วัตถุประสงค์การวิจัย 1) ศึกษาพฤติกรรมการรับข่าวสารจากสื่อมวลชนของผู้นำมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ 2) ศึกษาผลของการรับข่าวสารจากสื่อมวลชนที่มีต่อการชี้นำประชาชนของผู้นำมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ 3) ศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมการรับข่าวสารของสื่อแต่ละประเภทของผู้นำมุสลิมในจังหวัดชาย 4) ศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมการรับข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อการชี้นำประชาชนของผู้นำมุสลิมทั้งที่อาศัยอยู่ตามชายแดน และในเมือง 5) ศึกษาถึงวิธีการนำความรู้จากสื่อมวลชนในประเทศมาเลเซียมาชี้นำประชาชนในการพัมนาของผู้นำมุสลิมทั้งที่อาศัยอยู่ตามชายแดน และในเมือง<br /><br /> <dd>กลุ่มประชากรจากจังหวัด สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส สถิติ ค่าร้อยละ ค่าที และค่าGamma<br /><br /> <dd>ผลการวิจัย พบว่า<br /><br /> 1. ผู้นำมุสลิมทุกจังหวัดส่วนใหญ่มีวิทยุ โทรทัศน์ แต่เป็นสมาชิกหนังสือพิมพ์และวารสารน้อย<br /><br /> 2. พฤติกรรมการรับข่าวสารตอนเช้าและตอนค่ำของวันธรรมดา ผู้นำมุสลิมแต่ละจังหวัดรับข่าวสารแตกต่างกัน<br /><br /> 3. พฤติกรรมการรับข่าวสารทุกช่วงเวลาขอวันหยุด (เสาร์-อาทิตย์) ผู้นำมุสลิมแต่ละจังหวัดรับข่าวสารแตกต่างกัน<br /><br /> 4. การพูดคุยกับชาวบ้านปรากฏว่าผู้นำมุสลิมแต่ละจังหวัดมีพฤติกรรมการพูดคุยกับชาวบ้านในเวลาที่แตกต่างกัน<br /><br /> 5. การอ่านคุฏบะฮฺวันศุกร์ ปรากฎว่า ผู้นำมุสลิมแต่ละจังหวัดอ่านเนื้อหาแตกต่างกัน<br /><br /> 6. ผู้นำมุสลิมทุกจังหวัดส่วนใหญ่ให้คำชี้นำแก่ประชาชนหลังละหมาดในเวลาที่แตกต่างกัน<br /><br /> 7. ผู้นำมุสลิมแต่ละจังหวัดให้คำชี้นำแก่ประชาชนในเรื่องต่างๆ ที่แตกต่างกัน<br /><br /> 8. ผู้นำมุสลิมแต่ละจังหวัดชอบฟังวิทยุ ดูรายการโทรทัศน์และอ่านหนังสือพิมพ์เวลาที่แตกต่างกัน<br /><br /> 9. ผู้นำมุสลิมแต่ละจังหวัดชอบฟังวิทยุในระดับที่เหมือนกัน แต่ดูรายการโทรทัศน์และอ่านหนังสือพิมพ์ในระดับที่แตกต่างกัน<br /><br /> 10. ผู้นำมุสลิมในเมืองอ่านหนังสือพิมพ์จากมาเลเซียมากกว่าผู้นำมุสลิมที่อาศัยอยู่ตามชายแดน<br /><br /> 11. ผู้นำมุสลิมในแต่ละประเภทที่อาศัยอยู่มีความสนใจคอลัมน์หนังสือพิมพ์จากมาเลเซียที่เหมือนกัน<br /><br /> 12. ผู้นำมุสลิมที่อาศัยอยู่ตามชายแดนฟังรายการวิทยุจากมาเลเซียมากกว่าผู้นำมุสลิมในเมือง<br /><br /> 13. ผู้นำมุสลิมในแต่ละประเภทที่อาศัยอยู่มีความสนใจรายการวิทยุจากมาเลเซียที่เหมือนกัน<br /><br /> 14. ผู้นำมุสลิมในแต่ละประเภทที่อาศัยอยู่จะนำความรู้จากหนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ จากมาเลเซียมาชี้นำประชาชนในการพัฒนาด้วยวิธีการที่เหมือนกัน

The objectives of this research are 1) to study the behavior toward reception of mass media among the Muslis leaders in the Southern <br /> <br /> Border Provinces of Thailand, 2) to study the impact of receiving mass media upon the stand as guidelines to the Muslim leaders in the <br /> <br /> Southern Border Provinces, 3) to do a comparative study of the mass media reception in each catergory of the Muslim leaders in <br /> <br /> Souther Border Provinces, 4) to do a comparative study on the behevioral toward receiving useful mass media in guiding the Muslim <br /> <br /> leaders living in border and urban areas, and 5) to study the method of conveying the knowledge about mass media from Malaysia to <br /> <br /> be the guidelines in developing the people by the Muslim leaders in both urban and border areas. <br /> In this research, the researchers have conducted sampling by selecting the targeted population from the five southern border <br /> <br /> provinces, namely Pattani, Yala and Narathiwat. The data were from the Muslim communities, in which the masjids stand as the <br /> <br /> centers, up to 240-samples, 5 samples from the provincial committee members, 117 samples from the Masjid committee, 70 samples <br /> <br /> from the teachers of Islamic Private Schools, 48 samples from the kamnans, phuyai bans, 120 samples from borders which are not <br /> <br /> the urban areas, and 120 samples from the urban.<br /> The reseachers have presented the analytical result in the from of a diagram with three types of statistics, namely : percentage, Chi-<br /> <br /> Square-Test (X2-Test) and Gamma <br /> The results of the reseach are as follows:<br /> 1. Most the Muslim leaders in each province possess radio transister and television sets, but very few being members of newspers and magazines.<br /> 2. In the behavior of receiving mass media in the morning in the morning and noght programs of the week days, there are different in practice of the Muslim leaders in each province.<br /> 3. In the behavior of mass media during the weekends (Saturday-Sunday) there are different in practice of the Muslim leaders in each province.<br /> 4. In making discourse have with the villagers, it is found that Muslim leaders of each province have this behavior not at the same time.<br /> 5. In making "Khutbah" on Friday, it is found that Muslim leaders in each province read the contents in different styles, regardless the pillars of "Khutbah"<br /> 6. Most of the Muslim leaders usually give instruction to the people after prayer (salat), and in different time.<br /> 7. Muslim leaders in each province give instruction to the people about the topics in different styles.<br /> 8. Muslim leaders in each province enjoy listening to radio, washing T.V. and reading newspapers, not in the same times.<br /> 9. Muslim leaders in each province enjoy listening to radio programs in the same level, but washing T.V. program and reading newspapers in different levels.<br /> 10. Muslim leaders in urban read newspapers from Malaysia more than those living in borders.<br /> 11. Muslim leaders in different categories of living have the same attitude in reading columns of newspapers from Malaysia.<br /> 12. Muslim leaders, living in borders, listen to the Malaysia's radio more than those living in urban.<br /> 13. Muslim leaders in each catergory of residential have the same attitude in radio program from Malaysia.<br /> 14. Muslim leaders in each catergory of residential bring knowledge from newspapers, radio, as well as television to guide the people in various developing aspects in the same method.
     ผู้ทำ/Author
Nameดลมนรรจน์ บากา
Organization มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาลัยอิสลามศึกษา
Nameหะสัน หมัดหมาน
Organization มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาลัยอิสลามศึกษา
     เนื้อหา/Content
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 3 ระเบียบวิธีการวิจัย
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (หน้า 35-69)
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (หน้า 70-104)
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (หน้า 105-139)
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (หน้า 140-174)
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (หน้า 175-208)
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (หน้า 209-238)
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (หน้า 239-273)
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (หน้า 274-308)
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (หน้า 309-343)
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (หน้า 344-354)
บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
     กลุ่มหัวเรื่อง: ด้านเศรษฐกิจและสังคม
--ผู้นำชุมชน
--การสื่อสารมวลชน
อิสลามศึกษา
     Publisher:
Name:มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
Address:ปัตตานี (Pattani)
     Year: 2540
     Type: งานวิจัย/Research Report
     Copyrights :
     Counter : 2193
     Counter Mobile: 42