|
|
|
ชื่อเรื่อง/Title |
Modelling the Incidence of Fever-Symptomatic Diseases in Subdistricts of Yala Province / แบบจำลองการเกิดโรคที่มีอาการไข้ในระดับตำบลของจังหวัดยะลา |
|
บทคัดย่อ/Abstract |
????The objective of this study were to study the epidemic patterns of the Dengue Hemorrhagic Fever and other major diseases in Yala Provice, to investigate the relation between the prevalence of these diseases in terms of their geographical distributions, and to develop a methodology that be applied routimely to geographical epdemiologic research for the spatio-temporal mapping of diseases. the study desing is a cross-sectional ospital-based survey of all the cases of disease provided by Yala Provice Health office. <br />
????The sample comprised all such data collected in 2002 and 2003. schematic range maps and statistical models were used to investigate the distribution of diseases in time location. The methods were Pearson's correlation coefficient, Poisson distributions model, and Negative binomial distributions model. <br />
????The result found tht the highest correlations between the diseases incidence rates in 2002 are <br />
0.805 for diarrhoes and conjunctivitis, and 0.798 for diarrhoes and pneumonia. For all diseases in the two years, five risk alerts occurred. For Dengue fever, in 2002 there were two subdistrict with moderatc risk alcrts, namcly Ka Yu Bo Ko and Ku Ta Ba Ru, whereas in 2003 there was iust one subdistrict with moderate riskalerts, namely Kerikat and Than To
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษารูปแบบการเเพร่กระจายของโรคไข้เลือดออกเเละโรคอื่นๆในจังหวัดยะลา, เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความชุกของโรคกับลักษณะการกระจายทางภูมิศาสตร์เเละเพื่อพัฒนาวิธีการที่อาจจะนำมาประยุกต์ใช้กับงานวิจัยด้านระบาดวิทยาในเชิงภูมิศาสตร์ การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจเเบบตัดขวาง ข้อมูลผู้ป่วยจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา ในระหว่าปี 2545 และปี 2546 ใช้แผนที่เเละโมเดลทางสถิติวิเคราะห์การกระจายของ โรคเเยกตามเวลาเเละพื้นที่ รวมทั้งการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เพื่อวัดความสัมพันธ์ระหว่าอัตราการเกิดโรคเเละสร้างโมเดลลักษณะการเกิดโรค โดยใช้การเเจกเเจงปัวส์ซองเเละการเเจกเเจงทวินาวิเสธ ผลการศึกษาพบว่าในปี 2545 มีความสัมพันธ์กันสูงระหว่างอัตราการเกิดโรคท้องร่วงเเละโรคตาเเดง (r=0.580), โรคท้องร่วงเเละโรคปอดบวม ผr=0.798) เเละโรคตาเเดงเเละโรคปอดบวม (r=0.580) ในระยะเวลา 2 ปี ที่ศึกษามีพื้นที่เสี่ยงต่อการระบาด 5 ตำบล โดยในปี 2545 โรคไข้เด็งกี่ที่2 ตำบลที่มีความเสี่ยงต่อการระบาดในระดับปานกลางคือตำบลกอยูบอเกาะ (P=0.0296) เเละโกตาบารู (P-0.0422) เเละในปี 2546 ตำบลกายูบอเกาะ (P=0.0032) เกิดการระบาดสูง สำหรับโรคไข้ไม่ทราบสาเหตุในปี 2546 มี 2 ตำบล คือตำบลคีรีเขต (P=0.0172) เเละตำบลธารโต (P=0.0358) ที่มีความเสี่ยงระบาดระดับปานกลาง |
|
ผู้ทำ/Author |
Name | Saowarot Kaewsompak | Organization | Prince of Songkla University, Graduate School |
|
|
เนื้อหา/Content |
|
|
กลุ่มหัวเรื่อง: |
ด้านสุขภาพอนามัย
--สุขอนามัยชุมชน
|
|
Contributor: |
Name: |
Don Mc.Neil |
Roles: |
Advisor |
|
|
Publisher: |
Name | : | Prince of Songkla University, Pattani Campus | Address | : | Pattani |
|
|
Year: |
2005 |
|
Type: |
วิทยานิพนธ์/THESES |
|
Copyrights : |
|
|
Counter : |
1953 |
|
Counter Mobile: |
27 |
|