ชื่อเรื่อง/Title ลักษณะของครูที่เอื้อต่อการพัฒนาชนบทตามแนวความคิดเห็นของคณะกรรมการ สภาตำบลในเขตรับผิดชอบของวิทยาลัยครูยะลา / Teacher Characteristics Pertinent to Rural Development as Perceived by the Tambon Councils in Yala Teachers College
     บทคัดย่อ/Abstract ????การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา <br /> 1.ลักษณะของครู่ที่เอื้อต่อการพัฒนาชนบทในความคิดเห็นของคณะกรรมการสภาตำบล ในเขตรับผิดชอบของวิทยาลัยครูยะลาทั้ง 10 ด้าน ได้แก่ ด้านความรู้ ความเป็นผู้นำ ความคิดริเริ่ม ความสามารถในการแก้ปัญหา มนุษยสัมพันธ์ ความเชื่อมั่นในตนเอง ความซื่อสัตว์สุจริต การยอมรับนวัตกรรม ความขยันอดทน และการบำรุงสุขภาพอนามัย <br /> 2.ศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างของความคิดเห็นของคณะกรรมการสภาตำบล ที่มีต่อลักษณะของครูที่เอื้อต่อการพัฒนาชนบททั้ง 10 ด้าน โดยจำแนกตามอายุ ระยะเวลาการทำงาน ระดับการศึกษา <br /> ????กลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือประธาน เลขานุการสภาตำบล และพัฒนากร จำนวน 447 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าที ค่าเอฟ และการทอสอบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ <br /> ????ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ <br /> 1. ลักษณะของครูที่เอื้อต่อการพัฒนาชนบทอยู่ในเกณฑ์ระดับมากทั้ง 10 ด้าน <br /> 2.ความคิดเห็นของคณะกรรมการสภาตำบลที่มีต่อลักษณะของครูที่เอื้อต่อการพัฒนาชนบททั้ง 10 ด้าน จำแนกตามอายุระหว่างวัยหนุ่มสาวกับวัยกลางคนและวัยผู้ใหญ่ พบว่าไม่มีความแตกต่างกันทั้ง 10 ด้าน <br /> 3. ความคิดเห็นคณะกรรมการสภาตำบล จำแนกตามระยะเวลาที่ทำงานในสภาตำบลต่างกัน พบว่า คณะกรรมการสภาตำบลที่มีระยะเวลาทำงาน 3-5 ปี มีความคิดเห็นด้วยมากกว่าที่มีระยะทำงานน้อยกว่า 2 ปี <br /> 4. ความคิดเห็นของคณะกรรมการสภาตำบล ที่มีต่อลักษณะของครูที่เอื้อต่อการพัฒนาชนบททั้ง 10 ด้าน จำแนกตามระดับการศึกษาที่ต่างกัน พบว่าไม่มีความแตกต่างกันในแต่ละด้านทั้ง 10 ด้าน

The purposes of this research were twofolds : (1) to investigate 10 aspects of the teacher characteristies pertinent to rural development as percieved by the Tambon councils in Yala Teachers college's area of responsibility : knowledge ability, leadership, creativity, ability in problem-solving, human rlationship, self-confidence, bonesty, acceptance of innovations, perseverance, and health care ; (2) to compare the respondents' perceptions of all 10 aspects of the teacher characteristies pertinent to rural development as perceived by the Tambon Councils in the area under study plus open-ended questions for respondents' comments regarding their perceptions. The data obtained were analyzed by means of the Statistical Package for the Social Science (SPSS) for statistical values of percantage, mean, standard deviation, t-test and F-test. And then, the Scheffe' statistical procedure was employed for post boe mutiple comparisons of the variables.<br /> The major findings of the study were as follows :<br /> 1. Perceptions of the teacher characteristics among the Tambon Council members were at a high level, being from most to least, in these ten aspects : honesty (x=4.49), perseverance (x=4.48), human relationship (x=4.41), self-confidence (x=4.35), ability in problem-solving (x=4.31), leadership (x=4.29), health care (x=4.26), acceptance of innovations (x=4.23), knowledge ability (x=4.22), and creativity (x=4.16) respectively. <br /> 2. There was a statistical difference (p<0.05) between the age groups (i"e", 18-35 yrs, and 36-60 yrs) of the subjects and the perceptions in all ten aspects of the teacher characteristics pertinent to rural development.<br /> 3. There was a statistical significance (p<0.05) between the subjects length of working experience and the perception of the teacher characteristics pertipent to rural development. It was found that the subjects with 3-5 year working experience had agreed more on the teacher characteristics pertinent to rural development than those with 2-year working experience in those two aspects : ability in problem-solving (P=0.0116) and heaith care (P=0.0051). Moreover, the subjects with 3-5 year working experience had agreed more on the teacher characteristics pertinent to rural development than those with over 5-year working experience in these three aspects : knowledgeability (P=0.0126), creativity (P=0.0448), and human relationship (P=0.0023). However, there was no difference of statistical significance (P>0.05) between the subjects' length of working experience and the following aspects of perceptions : leadership (P=0.4242), self-confidance (P=0.1758), honesty (P=0.9634), acceptance of innovations (P=0.8074), and perseverance (P=0.694). <br /> 4. There was no difference of statistical significance (P>0.05) between the subjects' level of education and all ten aspects of perceptions of the teacher characteristics pertinent to rural development : knowledgeability (P=0.6477), leadership (P=0.6091), creativity (P=0.6341), ability in problem-solving (P=0.3256), human relationship (P=0.1124), self-confidance (P=0.0695), honesty (P=0.9357), and health care (P=0.6175).
     ผู้ทำ/Author
Nameสมศักดิ์ หาญณรงค์ชัย
Organization มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, บัณฑิตวิทยาลัย
     เนื้อหา/Content
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1 (หน้า 1-26)
บทที่ 1 (หน้า 27-53)
บทที่ 2 วิธีการดำเนินการวิจัย
บทที่ 3 ผลการวิจัย
บทที่ 4 ผลสรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ประวัติผู้เขียน
     กลุ่มหัวเรื่อง: ด้านการศึกษา
--บุคลากรทางการศึกษา
     Contributor:
Name: ชำนาญ ประทุมสินธุ์
Roles: ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
     Publisher:
Name:มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
Address:ปัตตานี (Pattani)
     Year: 2533
     Type: วิทยานิพนธ์/THESES
     Copyrights :
     Counter : 1905
     Counter Mobile: 33