ชื่อเรื่อง/Title การประเมินโครงการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด โดยเน้นการสอนจริยธรรมศาสนาอิสลาม : ศึกษาเฉพาะกรณี ศูนย์ดารุลอีมาน ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา / Evaluation of Drug Treatment Programn Using Islamic Teachings : A Case Study at Daruol Iman Center, Tambon Boody, Amphur Muang Yala, Changwat Yala
     บทคัดย่อ/Abstract การวิจัยมีวัตถุประสงค์ 4 ประการ
1) เพื่อประเมินระดับการปฏิบัติธรรมตามหลักศาสนาอิสลามของผู้ติดยาเสพติดในการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดของศูนย์ดารุสฮีมานว่าความเคร่งครัดอยู่ในระดับใด
2) เพื่อประเมินผลการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพในการเลิกเสพของผู้ติดยาเสพติดที่ผ่านกระบวนการบำบัดดดยเน้นการสอนจริยธรรมของศาสนาอิสลาม
3) เพื่อประเมินพฤติกรรมของผู้ที่ติดยาเสพติดที่เข้ารับการบำบัดรักษาว่าการเลิกเสพขึ้นอยู่กับความแตกต่างด้านอายุของผู้ติดยา
4) เพื่อประมเนพฤติกรรมของผู้ติดยาเสพติดที่เข้ารับการบำบัดรักษาว่าการเลิกเสพขึ้นอยู่กับความแตกต่างด้านระยะเวลาการติดยา
กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้นำศาสนา ผู้นำท้องถิ่น วิทยากรผู้ปฏิบัติงาน และผู้เข้ารับการบำบัดรักษา การสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง เครื่องมือได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ ค่าร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าที
ผลการวิจัยพบว่า
1. ผลการประเมินระดับความคิดเห็น ด้านการปฏิบัติธรรมตามหลักศาสนาอิสลาม ความเคร่งครัดอยู่ที่ระดับสูง
2. ผลการประเมินระดับความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่าง ผลการบำบัดรักษาฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาดดยการสอนจริยธรรมศาสนาอิสลาม พบว่าระดับความคิดเห็นต่อความสำเร็จของการบำบัด อยู่ในระดับสูง
3. ผลการประเมินระดับความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อพฤติกรรมของผู้ติดยา ผู้เข้ารับการบำบัดอายุน้อยกว่า 25 ปี และอายุ 25 ขึ้นไป ไม่มีผลต่อการเปลี่ยนพฤติกรรมการเลิกยาเสพติดระดับความคิดเห็นที่มีต่อพฤติกรรมทั้ง 2 กลุ่มไม่แตกต่างกัน
4. ผลการประเมินระดับความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อพฤติกรรมของผู้ติดยา ระยะเวลาของผู้ที่เข้ารับการบำบัดต่ำกว่า 5 ปี และ 5 ปีขึ้นไป ไม่มีผลต่อการเปลี่ยนพฤติกรรมการเลิกยาเสพติดระดับความคิดเห็นที่มีต่อพฤติกรรมทั้ง 2 กลุ่มไม่แตกต่างกัน

This research was intended to attain 4 objectives : 1) to evaluate the level of Islamic conduct of the drug addicts receiving treatment and rehabilitation at Daruol Iman Center,2) to assess the results of the treatment using Islamic teaching for the drug addicts,3) to assess their behavior in overcoming the addictions in relation to their age,4) assess their overcoming behavior in relation to the duration of addiction.
The subjects of the study were four group of people : Islamic religious leaders, community leaders, program at Da Daruol Iman Center. A purposive random sampling was used to get 100 samples. The instrument was a questionnaire concerning the respondents? background information and opinions on the process and product of the program. It was a five-point rating-scale with the reliability at 0.75 for process and 0.91 for product, as open-ended question about general ideas to support the research findings. The data was analyzed statistically with SPSS/PC (statistical Package for the social Sciences/Personal Computer) for percentages, arithmetic means. Standard deviations, and t-test.
The research findings were as follows:
1. The assessment showed that the level of Islamic conduct of the drug addicts receiving treatment and rehabilitation at Daruol Iman Center was high.
2. As for the respondent?s opinions about the results of the treatment using Islamic teaching, the success in overcoming addiction was high.
3. The respondent?s opinions on the drug addicts? behavior revealed that there was no behavioral change among the addicts who were younger than 25 and those aged 25 and over in overcoming addiction. The level of respondents? opinions on the behavior of the clients in the both groups were not significantly different.
4. The behavior of the clients who were treated for less than 5 years and those treated for 5 years and over was not changed in overcoming drug addiction. The levels of opinions on the behavior of the clients in the both groups were not significantly different.
Suggestions:
From the findings, the researcher suggested that the administrator of Daruol Iman Center continue to develop the drug treatment program using Islamic teaching in the following way:
1. The Islamic conduct like prayers, both principal and supplemental, should be practiced devoutly. The Muslim drug addicts should have faith in the Islamic principles and conduct themselves both during and after treatment in order to eliminate addiction permanently.
2. Notwithstanding the age or the duration of addiction, all addicts can receive the treatment similarly. These variables do not affect the results. The clients are not different in the ability to overcome the of addiction permanently with the treatment.
     ผู้ทำ/Author
Nameเฉลิม มากจงดี
Organization มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ บัณฑิตวิทยาลัย
     เนื้อหา/Content
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 3 วิธีการวิจัย
บทที่ 4 ผลการวิจัย
บทที่ 5 การอภิปรายผลการวิจัย
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ประวัติผู้เขียน
     กลุ่มหัวเรื่อง: ด้านสุขภาพอนามัย
--หน่วยงานบริการสาธารณสุข
     Contributor:
Name: มารุต ดำชะอม
Roles: ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
     Publisher:
Name:มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
Address:ปัตตานี (Pattani)
     Year: 2541
     Type: วิทยานิพนธ์/THESES
     Copyrights :
     Counter : 4172
     Counter Mobile: 42