ชื่อเรื่อง/Title Genetic and environmental interactions on oral cancer in Southern / ความสัมพันธ์ระหว่างสารพันธุกรรมกับสิ่งแวดล้อมของมะเร็งช่องปากในประชากรภาคใต้
     บทคัดย่อ/Abstract Many countries are inter in understanding the relationship between genetic susceptibility and their prevalent environmental cancers for disease prevention. We have conducted a population-based case-control study of 53 matched pairs to assess the risk of oral cancer in relation to genetic polymorphisms of the glutathione-S trasferase genes: the GSTMI and GSTTI, in cigarette smokers, alcohol drinkers and betel quid chewers.
Interactons of the genes and their effects on other potential risk factors such as local beans consumption were also adjusted in the analysis.
The result shows that homozygous deletion of the GSTM1 has a prevalence of 30.2% (169/53) among controls and a 2.6 fold higher risk for development of oral cancer (95%CI 1.04-6.5). Among the null GSTM1 individuals, those who smoke, consume alcohol and chew betel quid frequently have a significantiy increased risk for oral cencer (OR=4.0,95%CI 1.2-13.7; OR7.2,95%CI 1.5-33.8; OR4.4, 95%CI 1.1-17.8, respectively).The prevalence of the GSTT1 null genotype is 47.2% (25/53) among our control population. There is no association between the GSTT1 null allele and oral cancer risk.
In conclusion, our study provides data to indicate that individuals who have homozygous deletion of the GSTM1 gene have increased risk for oral cancer. The risk increases when these individuals are exposed to environmental toxicants such as chemicals in cigaratte smoke, alcohol and betel quid. This base line data can be applied to a larger population based study in order to verify the applied and to conduct mechanistic investigations.

มะเร็งช่องปากเป็นมะเร็งที่พบบ่อยใน 10 อันดับแรกของประเทศไทย เมื่อคำนวณกลุ่มอายุ (age standardized rate, ASR) พบว่ามีอุบัติการณ์ของมะเร็งช่องปากเป็น 4.6 ต่อประชากรแสนคนต่อปี โดยภาคใต้มีอุบัติการณ์สูงที่สุดของประเทศไทย ข้อมูลสถิติของจังหวัดสงขลาแสดงค่า ASR ของเพศชายเป็น 9.8 และของเพศหญิงเป็น 3.5 การศึกษาทางระบาดวิทยาพบว่า ปัจจัยเสี่ยงของมะเร็งช่องปากของประชากรภาคใต้สัมพันธ์กับพฤติกรรมการสูบบุหรี่ การดื่มเหล้า และการกินหมาก ยีน GSTMI และ GSTTI เป็นยีนที่มีคุณสมบัติทำลายสารพิษ (detoxification) อาทิ สารพิษที่มีอยู่หลายชนิดในบุหรี่ เป็นต้น พบว่ายีนมีความแตกต่างในเชื้อชาติ (GSTMI null genotype) และ/หรือ ไม่มียีน (GSTMI null genotype) มีโอกาสเสี่ยงเพิ่มขึ้น ต่อการเป็นมะเร็งของระบบต่างๆ เช่น มะเร็งปอด มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ และมะเร็งช่อง เป็นต้น ยังไม่มีการศึกษาความสัมพันธ์ของยีน GSTMI และยีน GSTTI กับมะเร็งช่องปากในประชากรไทย
การศึกษานี้เป็นการวิจัยแบบ Case-Control เพื่อหาความสัมพันธ์ของยีน GSTMI และ GSTTI กับการสูบบุหรี่ ดื่มเหล้า และกินหมาก กับโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งช่องปากในประชากรภาคใต้ กลุ่มประชากรศึกษาเป็นกลุ่มผู้ป่วยมะเร็งช่องปากที่มีประวัติการสูบบุหรี่ และกินหมาก ผลการศึกษาโดยวิธีการวิเคราะห์ทางระบาดวิทยาและทางโมเลกุลระบาดวิทยาในกลุ่มผู้ป่วย 53 ราย (ชาย 35 ราย หญิง 18 ราย) ที่มีอายุเฉลี่ย 67.0 ปี เปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม 53 ราย (ชาย 35 ราย หญิง 18 ราย) ที่มีอายุเฉลี่ย 67.3 ปี พบว่าประชากรภาคใต้มีความชุกของประชากรที่ไม่มียีน GSTMI (GSTMI null genotype) 30.2% และไม่มียีน GSTTI (GSTTI null genotype) 47.2% และยังพบว่ากลุ่มประชากรที่ไม่มียีน GSTMI มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งช่องปากเพิ่มขึ้นเป็น 4.0 เท่า (95%CI 1.2-13.7). 7.2เท่า(98% CI 1.1-17.8) ตามลำดับ ในการสึกษานี้พบว่าการไม่มีนีน GSTTI ไม่มีความสัมพันธ์กับโอกาสเสี่ยงต่อกาสรเกิดมะเร็งช่องปาก

ผลการศึกษานี้สามารถใช้เป็นข้อมูลเชื้องต้นที่จะศึกษาในกลุ่มประชากรขนาดใหญ่ขึ้นต่อไป
     ผู้ทำ/Author
NameSuparp Kietthubthew
Organization Prince of Songkla University. Faculty of Dentistry Department of Stomatology
NameHutcha Sriplung
Organization Prince of Songkla University. Faculty of Medicine Department of Pathology
NameW. Au, William
Organization University of Texas. Department of Preventive Medicine and Community Health
     เนื้อหา/Content
Cover
Abstracts
Introduction
References
     กลุ่มหัวเรื่อง: ด้านสุขภาพอนามัย
--สุขอนามัยชุมชน
     Publisher:
Name:Prince of Songkla University, Hatyai Campus
Address:Songkhla
     Year: 1997
     Type: งานวิจัย/Research Report
     Copyrights :
     Counter : 2147
     Counter Mobile: 58