|
||||||||||||||||||||||
ชื่อเรื่อง/Title | การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในจังหวัดปัตตานี / Internal Quality Assurance for Schools Responsible for Basic Education in Pattani | |||||||||||||||||||||
บทคัดย่อ/Abstract | การวิจัยภาพอนาคตชาติพันธุ์มีวัตถุประสงค์เพื่อหารูปเเบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตที่การศึกษาจังหวัดปัตตานี ตั้งเเต่ปี พ.ศ.2545 เป็นต้นไป โดยมีการสัมภาษณืกลุ่มตัวอย่างผู้ปฏิบัติงานประกันคุณภาพการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานภาพอนาคตรูปเเบบการประกันคุณภาพการศึกษามีดังนี้ 1)ภาพอนาคตในทางที่ดี: ผูบริหารเเละครูมีความสัมพันธ์อันดีกับชุมชน การให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการจักการศึกษาทำให้สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพเเละสอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่นมากขึ้น 2) ภาพอนาคตในทางที่ไม่ดี: เกิดความขัดเเย้งเรื่องผลประโยชน์ระหว่างชุมชนกันสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษามีอำนาจตัดสินใจน้อยลงเนื่องจากมีการบริหารงานในรูปเเบบคณะกรรมการ การขาดความรู้ด้านการประกันคุณภาพการศึกษาของชุมชนทำให้บุคลากรในสถานศึกษาต้องเเบกรับภาระมากขึ้น ส่งผลใกดความต่อต้านการปฏิรูปการศึกษาจากบุคลากรบางกลุ่ม เเละ 3) ภาพอนาคตที่น่าจเป็นได้มากที่สุด: หากปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนร่วมได้เสียในการศึกษามี่ส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ก็จะสามารถตอบสนองความต้องการของท้องถิ่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ สถานศึกษากับชุมชนจะมีความสัมพันธ์ใกล้ชิด คุณภาพเเละมาตรฐานการศึกษาจะได้รับการพัฒนาให้ดีขึ้นเรื่อยๆ บุคลากรทางการศึกษาจะทำงานเป็นระบบ มีคุณภาพมาตรฐานเเละความเป็นมืออาชีพเเละได้รับการยอมรับจากสาธารณชน This Ethnographic Future Research was intended to find a model of internal educational quality assurance for schools responsible for basic education in Pattani, projecting from the year 2002 onward. Personnel involving in educational quality assurance in schools responsible for basic education was interviewed.Three visions of quality assurance were as follows: 1) Positive Vision-Administrators and teachers had a good relationship with the community. The community?s participation in the management of education would render the instruction more efficient and responsive to the need of the community. 2) Negative Vision-Conflicts of interest between the community and the school arose. School administrators had less decision-making power since most decisions would be made by the school board/committee. The community?s lack of knowledge on educational quality assurance would force education personnel to resume more responsibilities, and this would possibly lead some personnel to oppose the educational reform. 3) Most Possible Vision-Response to the need of the community would be more efficient if stakeholders were allowed to participate in education management. The school and the community would have a close relationship. Educational quality and standard would be continuously enhanced. Education personnel would work more systematically to attain quality, professionalism and acceptance from the public. |
|||||||||||||||||||||
ผู้ทำ/Author |
|
|||||||||||||||||||||
เนื้อหา/Content |
|
|||||||||||||||||||||
กลุ่มหัวเรื่อง: |
ด้านการศึกษา --นโยบายทางการศึกษา |
|||||||||||||||||||||
Publisher: |
|
|||||||||||||||||||||
Year: | 2546 | |||||||||||||||||||||
Type: | บทความ/Article | |||||||||||||||||||||
Copyrights : | ||||||||||||||||||||||
Counter : | 2346 | |||||||||||||||||||||
Counter Mobile: | 37 | |||||||||||||||||||||