ชื่อเรื่อง/Title ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการยอมรับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี ของผู้นำศาสนาอิสลามในชุมชนจังหวัดปัตตานี / Factors Related to the Adoption of Infants Immunization Services of Islamic Leaders in Changwat Pattani
     บทคัดย่อ/Abstract ????การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ <br /> 1) ศึกษาเปรียบเทียบการยอมรับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี ของผู้นำศาสนาอิสลามในชุมชนจังหวัดปัตตานี ตามปัจจัยด้ารการฝึกอบรมที่แตกต่างกัน ได้แก่ การเข้าฝึกอบรม วิธีการในการฝึกอบรม และความรู้ที่ได้จากการฝึกอบรม <br /> 2) ศึกษาเปรียบเทียบการยอมรับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด้กอายุต่ำกว่า 1 ปี ของผู้นำศาสนาอิสลามในชุมชนจังหวัดปัตตานี ตามปัจจัยด้านการรับข้อมูลข่าวสาร ด้านสุขภาพที่แตกต่างกัน ได้แก่ การได้รับข้อมูลข่าวสารทางด้านสุขภาพจากวิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ โปสเตอร์ และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข <br /> 3) ศึกษาเปรียบเทียบการยอมรับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี ของผู้นำศาสนาอิสลามในชุมชนจังหวัดปัตตานี ตามปัจจัยด้านการรับรู้ถึงพฤติกรรมสุขภาพที่แตกต่าง ได้แก่ การรับรู้ถึงความเสี่ยงต่อการเป็นโรค การรับรู้ถึงความรุนแรงของโรค และการรับรู้ถึงประโยชนืและอุปสรรคในการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค <br /> 4) ศึกษาเปรียบเทียบการยอมรับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี ของผู้นำศาสนาอิสลามในชุมชนจังหวัดปัตตานี ตามปัจจัยด้านความเชื่อในเร่องโรคที่แตกต่างกัน ได้แก่ ความเชื่อในเรื่องโรคติดต่อและประสิทธิภาพของวรรคซีนในการป้องกันโรค ความเชื่อในเรื่องของสาเหตุการเกิดโรคจากอำนาจเหนือธรรมชาติ และเชื่อในเรื่องสาเหตุของการเกิดโรค ตาหลักศาสนาอิสลาม <br /> 5) ศึกษาข้อเสนอแนะของผู้นำศาสนาอิสลามในชุมชนจังหวัดปัตตานีเกี่ยวกัยการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี <br /> ????ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้<br /> 1. ปัจจัยด้านการฝึกอบรม ได้แก่ การฝึกอบรม และความรู้ที่ได้จากการฝึกอบรมมีความสัมพันธ์กับการยอมรับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปีของผู้นำศาสนาอิสลามในชุมชนจังหวัดปัตตานี ส่วนวิธีการในการฝึกอบรมไม่มีความสัมพันธ์กัน<br /> 2. ปัจจัยด้านการรับข้อมูลข่าวสารทางด้านคุณภาพ ได้แก่ การรับข้อมูลข่าวสารทางด้านคุณภาพจากวิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ โปสเตอร์ และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขกับการยอมรับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปีของผู้นำศาสนาอิสลามในชุมชนจังหวัดปัตตานี <br /> 3.ปัจจัยด้านการรับรู้ถึงพฤติกรรมสุขภาพ ได้แก่ การรับรู้ถึงการเสี่ยงต่อการเป็นโรค การรับรู้ถึงความรุนแรงของโรค และการรับรู้ถึงประโยชน์และอุปสรรคในการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคมีความสัมพันธ์กับการยอมรับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปีของผู้นำศาสนาอิสลามในชุมชนจังหวัดปัตตานี <br /> 4. ปัจจัยด้านความเชื่อในเรื่องโรค ได้แก่ ความเชื่อในเรื่องโรคติดต่อและประสิทธิภาพของวัคซีนในการป้องกันโรคและเชื่อในเรื่องสาเหตุของการเกิดโรค จากอำอาจเหนือธรรมชาติมีความสัมพันธ์กับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคมีความสัมพันธ์กับการยอมรับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปีของผู้นำศาสนาอิสลามในชุมชนจังหวัดปัตตานี <br /> 5. ผู้นำศาสนาอิสลามในชุมชนจังหวัดปัตตานีเกี่ยวกับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปีที่สำคัญ ได้แก่ 1) ต้องการให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขออกฉีดวัคซีนในหมู่บ้าน และให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปีแก่ผู้ปกครอง 2) ต้องการให้มีการอบรม ชี้แจง ตลอดจนการสัมนาในเรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี แก่ผู้นำศาสนาอิสลาม กำนัน ผู้ใหญ่บ้านให้มากขึ้น

The purposes of this study were (1) to compare the adoption of infants immunization services of Islamic leaders in Changwat Pattani with different factors of training, ie., training, method of training and knowledge gained from training; (2) to compare the adoption of infants immunization services of Islamic leaders in Changwat Pattani with different factors of health-related information aequisition, ie., health-related information aequisition through radio, television, newspaper, posters and public helth workers; (3) to compare the adoption of infants immunization services of Islamic leaders in Chanwat Pattani with different factors of perceptions in health behavior, ie., perception in susceptibility, perception in seriousness, and perception in benifits and barrier in immunization services in benefits and barrier in immunization services; and (4) to compare the adoption of infants immunization services of Islamic leaders in Changwat Pattani with different factors of belief in disease, ie., belief in communi-cable diseases and vaccination potential to prevent diseases, belief in the causation of disesea influenced by suppernatural powers, and belief in the causation of disease influenced through the Islamic religious principle. The samples were 230 members of Mosque Islamic Committee in Changwat Pattani. The instrument for the data collection comprised rating-scale questionnaire, test and open-ended questions. In the data analysis, the statistics employed through the SPSS/PC+ computer program (Statistic Package for thr Socail Sciences) were percentage, arithmatic mean, standard deviation, F-test and Scheffe test. <br /> The results of the research were as follows :<br /> 1. Training factors, such as training and knowledge gained from training, were significantly related to the adoption of infants immunization services of Islamic leader in Changwat Pattani (P<.01), while the method of training was not related to the adoption of infants immunization services of the samples.<br /> 2. Health-related information acquisition factors, such as health-related information acquisition through radio, television, newspaper, posters and public health workers were significantly related to the adoption of infants immunization services of ilamic Leaders in Changwat Pattani (P<.01).<br /> 3. Perception in health behavior factors, such as perception in suscepibility, perception in seriousness, and perception in benefits and barriers in immunization services were significantly related to the adoption of infants immunization services of Islamic Leaders in Changwat Pattani (P<.01).<br /> 4. Belief in disease factors, such as belief in communicable diseases and vaccination potentail to preventdiseases, belief in the causation of diseases influencatly related to the adoption of infants immunization services of Islamic Leaders in Changwat Pattani (P<.01) ; however, belief in the causation of diseases influenced through the Islamic religious principles were not related to the adoption of infants immunization services of the samples.<br /> 5. The needs of Islamic leaders in Changwat Pattani about infants immunization services were 1) Public health workers should be out in the field work about infants immunization services with infarmation to presents more often, 2) There should be some more trainning and workshops on infants immunization services for Islamic leaders and Village head man.
     ผู้ทำ/Author
Nameบอรอเฮง ดีเยาะ
Organization บัณฑิตวิทยาลัย
     เนื้อหา/Content
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1 บทนำ (หน้า 1-32)
บทที่ 1 บทนำ (หน้า 33-74)
บทที่ 2 วิธีดำเนินการ
บทที่ 3 ผลการวิจัย
บทที่ 4 บทสรุป การอภิปรายผลและข้อเสนแนะ
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ประวัติผู้เขียน
     กลุ่มหัวเรื่อง: ด้านสุขภาพอนามัย
--สุขอนามัยชุมชน
ด้านเศรษฐกิจและสังคม
--ผู้นำชุมชน
     Contributor:
Name: คณิตา นิจจรัลกุล
Roles: ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
     Publisher:
Name:มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
Address:ปัตตานี (Pattani)
     Year: 2537
     Type: วิทยานิพนธ์/THESES
     Copyrights :
     Counter : 4228
     Counter Mobile: 41