ชื่อเรื่อง/Title รายงานการวิจัย พฤติกรรมการเลี้ยงดูทารก 0-1 ปี ของชาวไทยมุสลิม เขตชายแดนภาคใต้
     บทคัดย่อ/Abstract มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเงื่อนไขทางวัฒนธรรมที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของทารก ศึกษาพฤติกรรมของมารดา บิดาในการเลี้ยงดูทารก และสภาวะสุขภาพอนามัยของทารก เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ โดยมองทุกอย่างเป็นลักษณะองค์รวม ปรากฎผลดังนี้ <br /> (1) จากการวิเคราะห์สังคมชุมชนมุสลิมชายแดนภาคใต้ ทำให้ทราบถึงวิถีการดำเนินชีวิต ลักษณะทั่วๆ ไป ขนบธรรมเนียม ประเพณีและเศรษฐกิจของชุมชน <br /> (2) กระบวนการทางสังคม ศาสนาและวัฒนธรรม ที่มีอิทธิพลต่อการอนุบาลทารก 0-1 ปี จึงได้รับจากเงื่อนไขทางศาสนา ที่มีจากวจนะของอัลลอฮ (ช.บ) และเงื่อนไขทางวัฒนธรรมที่สืบทอดกันมาเรื่องสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก <br /> (3) พฤติกรรมการเลี้ยงดูทารกของมารดา บิดา และสุขภาพอนามัยของทารก จากการศึกษาพบว่า อิทธิพลของข้อ (1) และ (2) มีผลต่อข้อ (3) เป็นอย่างมาก มีทั้งส่งเสริมและไม่ส่งเสริม สุขภาพอนามัยแม่และเด็ก ผู้กำหนดแบบแผนเลี้ยงดูทารก ส่วนใหญ่จะเป็นมารดา บิดามีส่วนร่วมน้อย สำหรับภาวะสุขภาพอนามัย ของทารก 0-1 ปี ทารกอยู่ในระดับดี แต่แม่ยังขาดความรู้เรื่องอาหรเสริมโดยเริ่มให้อาหารเสริมเมื่อทารกอายุ 2.5 เดือน ไม่พบเด็กที่มีปัญหาเรื่องสุขภาพเป็นโรคอุจจาระร่วง ชาวบ้านไม่ม่ความรู้เรื่องวัคซีนคุ้มกันโรคและโรคอุจจาระร่วง ผลการสำรวจครั้งนี้ผู้วิจัยพิจารณาทั้งสิทธิความเชื่อ และการปฏิบัติของชาวบ้านมาเป็นหลัก โดยใช้วิธีการของ EMIC Approach เพราะจะได้ข้อมูลที่เป็นจริงมากขึ้น

The objectives of this research are to office of cultural condition towards the growth of infant, the behavior of parents and the health of infant. This qualitative and qualitative research was Conducted by using holistic approach. The results are as follows,<br /> 1) The analysis of Muslim society of southern border region obtained details of general information, the way of life, culture and economics of the society.<br /> 2) The social, religious and cultural process affected the way of caring babies (0-1 year old)<br /> The religious condition put by Allah almighty and the cultural heritage concerning the health of mother and have an influence on infant care behavior.<br /> 3) Infant care behavior of parents and the health of infant have received significantly influences from factors in (1) and (2) both in positive and negative ways .Mother have more impact care than father.It was found that the health of is, overall, good, it is joyful and able to sleep well. Even though mother knew very little about supplementary food which she started feeding hor infant when it was 2 month olds, there was no effect on infant?s health. It did not get diarrhea.<br /> The results of this survey were considered by using EMIC approach which taking a right to believe and the practice of local into account. The data, therefore, represented closer to the actual people behavior.
     ผู้ทำ/Author
Nameไหมสาเหราะ บินมะหะหมัด
Organization ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Nameอุสมาน สารี
Organization ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
     เนื้อหา/Content
หน้าปก
บทคัดย่อ
สารบัญ
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 2 วรรณกรรมและการศึกษาที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 3 ระเบียบวิธีการวิจัย
บทที่ 4 การวิเคราะห์สังคมชุมชนมุสลิมชายแดนใต้
บทที่ 5 กระบวนการทางสังคม ศาสนา และวัฒนธรรม...
บทที่ 6 พฤติกรรมการเลี้ยงดูทารก...
บทที่ 7 สรุปและข้อเสนอแนะ
บรรณานุกรม
     กลุ่มหัวเรื่อง: ด้านสุขภาพอนามัย
--สุขอนามัยชุมชน
อิสลามศึกษา
     Publisher:
Name:มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
Address:สงขลา (Songkhla)
     Year: 2536
     Type: งานวิจัย/Research Report
     Copyrights :
     Counter : 4637
     Counter Mobile: 31