ชื่อเรื่อง/Title ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้บริการทำคลอดแบบพื้นบ้าน และแบบสมัยใหม่ ของมารดาไทยมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ / Factors Affecting the Utilization of Traditional and Modern Delivery Care Service by Thak Muslim Mothers in Southern Border Provinces of Thailand
     บทคัดย่อ/Abstract ????การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาปัจจัยด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการแพทย์ ที่มีอิทธิพลต่อการใช้บริการทำคลอดแบบพื้นบ้าน และแบบสมัยใหม่ของมารดาไทยมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้<br /><br /> ????เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ มารดาไทยมุสลิมที่มีบุตรคนสุดท้ายอายุไม่เกิน 1 ปี 5 เดือน จากตำบลบาโงชิแน ตำบลยะหา และตำบลปะแต อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จำนวน 218 คนใช้การวิเคราะห์จำแนกประเภท<br /><br /> ????ผลการวิจัยพบว่า ประชากรตัวอย่างคลอดบุตรคนสุดท้ายด้วยวิธีการทำคลอดแบบพื้นบ้านมากกว่าแบบสมัยใหม่ ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อการใช้บริการทำคลอดแบบพื้นบ้าน และแบบสมัยใหม่ ได้แก่ ระยะทางจากที่อยู่ถึงแหล่งบริการมากที่สุด รองลงมาคือ ความสารถในการพูดภาษาไทย รายได้ครอบครัว ค่าใช้จ่ายในการเดินทางการศึกษาสายสามัญ ความรู้เกี่ยวกับการให้บริการทำคลอด ช่องว่างทางสังคม ขนาดที่ดินทำกินที่เป็นของตนเอง จำนวนสมาชิกในครอบครัวที่มีรายได้ ตามลำดับ<br /><br /> ตัวแปรเหล่านี้สามารถทำนายในการเลือกการใช้บริการทำคลอดแบบพื้นบ้าน และแบบสมัยใหม่ได้ถูกต้องร้อยละ 90.63

The purpose of this study was to find out economic, social,cultural and medical factors affecting the utilization of traditional and modern delivery care service by Thai Muslim mothers in southern border provinces of Thailand.<br /> The data were collected by means of interviewing 218 Thai Muslim mothers, who had the last child whose age was not than 1 year and 6 months. They were taken from Tambon Bangozinae, Tambon Yaha and Tambon Patae, all belonging to Yaha District, Yala Province. In the data analysis, the discriminant analysis was employed.<br /> The findings were as follows :<br /> The sampling subjects were found utilizing traditional delivery case service more than modern one. As regard affecting the utilization of traditional and modern delivery care service, it was found that geographical distance from the place of residence to the delivery care service sectors was thw most important sector. Next important factors in the decreasing order to it were : ability to speak Thai language, family income, travelling costs, education attainment, knowledge about the utilization of delivery care service, faith of birth attendent, social distance, expenditure of the utilization, size of land used and the number of persons who can earn in a family. These factors predicted the utilization of traditional and modern delivery care service correctly at 90.83 percent.
     ผู้ทำ/Author
Nameลีนา ตังกนะภัคย์
Organization มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ บัณฑิตวิทยาลัย
     เนื้อหา/Content
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย
บทที่ 4 ผลการวิจัย
บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ประวัติผู้วิจัย
     กลุ่มหัวเรื่อง: ด้านสุขภาพอนามัย
--สุขอนามัยชุมชน
ด้านเศรษฐกิจและสังคม
--สตรีเด็กและเยาวชน
อิสลามศึกษา
     Contributor:
Name: ประจิตร มหาหิง
Roles: ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
     Publisher:
Name:มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
Address:ปัตตานี (Pattani)
     Year: 2535
     Type: วิทยานิพนธ์/THESES
     Copyrights :
     Counter : 2385
     Counter Mobile: 29