ชื่อเรื่อง/Title ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของมารดาในการพาบุตรไปรับภูมิคุ้มกันโรคในจังหวัดปัตตานี / Factors Effecting Mothers Behaviors in Seeking Immunization for Their Children in Changwat Pattani
     บทคัดย่อ/Abstract <dd>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาตัวแปรที่สามารถจำแนกกลุ่มมารดาที่พาบุตรไปรับภูมิคุ้มกันโรคครบและไม่ครบ <br /> <dd>กลุ่มตัวอย่างเป็นมารดาหรือหญิงที่ทำหน้าที่เลี้ยงดูเด็กที่เกิดในช่วง มกราคม พ.ศ.2532 ถึง กันยายน พ.ศ.2539 ซึ่งอยู่ในตำบลมะบังดาลำ ตำบลบางเก่า ตำบลประจัน และตำบลกระโด จำนวน 226 คน โดยจำแนกเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มมารดาที่พาบุตรไปรับภูมิคุ้มกันโรคไม่ครบ จำนวน 116 คน และกลุ่มมารดาที่พาบุตรไปรับภูมิคุ้มกันโรคครบจำนวน 110 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยค่าร้อยละ ทีเทส และวิเคราะห์จำแนกประเภท<br /> <dd>ผลการวิจัย<br /> 1. ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม ได้แก่ การรับรู้ประโยชน์ของวัคซีน และการสื่อด้วยภาษาไทย<br /> 2. ปัจจัยการบริการสาธารณสุข ได้แก่ การได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับวัคซีนจากสถานีอนามัยใกล้บ้าน และการมีบัตรนัด<br /> 3. ปัจจัยกระตุ้นอื่นๆ ได้แก่ การอ่านหนังสือพิมพ์ และ/หรือ หนังสืออ่านเล่นต่างๆ และการดูโทรทัศน์<br /> 4. รวมทุกปัจจัย ได้แก่ การได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับวัคซีนจากสถานีอนามัยใกล้บ้าน การสื่อด้วยภาษาไทย และการมีบัตรนัด

The purpose of this study was to analyze the variables which ca discriminate the groups of mothers' behaviors in seeking immunization for their children either adequately immunized or inadequetely immunized. The samples were composed of 226 mothers or women who cared for childre born between January 1989 and September 1990. All of the subjects lived in Tumbol Manangdalum, Bangkao, Prejun and Kadoo in Changwat Pattani. There were 116 mothers whose children were inadequately immunized and 110 mothers whose children were adequately immunized. The data were collected by structured interviews and they were analyzed by using percentage, t-test and Discriminant Analyysis.<br /> The analysis of data reveated that inportant discriminant variables for adequately immunized group were : <br /> 1. The sociocultural factors were thw mothers' high perception of usefulness of the vaccines and a good Thai communication.<br /> 2. The public health service factors were the mothers' high perception of information on vaccination from the health station near the mothers' homes and their possesion of an appointment card.<br /> 3. The stimulated factors were of newspaper or book readership and greater television exposure.<br /> 4. Of the total factors considered there were the mothers' high perception of information on vaccination from the healh station near the mothers' homes, a good Thai communication and their possession of an appointment card, respectively.
     ผู้ทำ/Author
Nameสุนีย์ ไข่มุกด์
Organization มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ บัณฑิตวิทยาลัย
     เนื้อหา/Content
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 2 วิธีดำเนินการวิจัย
บทที่ 3 ผลการวิจัย
บทที่ 4 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ประวัติผู้เขียน
     กลุ่มหัวเรื่อง: ด้านสุขภาพอนามัย
--สุขอนามัยชุมชน
ด้านเศรษฐกิจและสังคม
--สตรีเด็กและเยาวชน
     Contributor:
Name: ชำนาญ ประทุมสินธุ์
Roles: ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
     Publisher:
Name:มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
Address:ปัตตานี (Pattani)
     Year: 2534
     Type: วิทยานิพนธ์/THESES
     Copyrights :
     Counter : 2199
     Counter Mobile: 39