|
บทคัดย่อ/Abstract |
งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการจัดการทรัพยากร<br />
สัตว์น้ำโดยชุมชนบริเวณชายฝั่งปากบารา อำเภอละงู จังหวัดสตูล และเพื่อเสนอแนวทางการจัดการ<br />
ทรัพยากรสัตว์น้ำโดยชุมชน บริเวณชายฝั่งปากบารา อำเภอละงู จังหวัดสตูล กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักที่ใช้<br />
ในการศึกษาครั้งนี้มีจำนวน 34 คน ใช้วิธีการศึกษาภาคสนาม ด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth<br />
Interview) และการสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) นำมาวิเคราะห์ ทำความเข้าใจกับ<br />
เนื้อหา จัดหมวดหมู่ และสังเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่า<br />
1. การจัดการทรัพยากรสัตว์น้ำโดยชุมขน บริเวณขายฝั่งปากบารา อำเภอละ<br />
จังหวัดสตูล ประกอบไปด้วย 3 องค์ประกอบที่สำคัญ คือ องค์ประกอบที่ 1 ปัจจัยนำเข้า ได้แก่<br />
1) สภาพทั่วไปของทรัพยากรชายฝั่งในชุมขน ซึ่งประกอบไปด้วย ทรัพยากรป่าชายเลน ทรัพยากร<br />
แหล่งหญ้าทะเล ทรัพยากรแนวปะการัง และทรัพยากรสัตว์น้ำ 2 กฎกติกาชุมชนในการใช้ประโยชน์<br />
ร่วมกันจากทรัพยากรในชุมชน ซึ่งประกอบไปด้วย กฎกติกาในการใช้ประโยชน์ร่วมกันบริเวณซั้งกอ<br />
กติกาของวิสาหกิจชุมชนร้านคนจับปลา และกฎกติกาธนาคารปูม้า และ 3) การบริหารจัดการ ซึ่ง<br />
ประกอบไปด้วย ด้านคน เงิน วัสดุอุปกรณ์ และการจัดการ องค์ประกอบที่ 2 กระบวนการบริหาร<br />
จัดการ กระบวนการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการทรัพยากรสัตว์น้ำ ได้แก่<br />
การมีส่วนร่วมในการวางแผ่น การมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน การมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์<br />
และ การมีส่วนร่วมในการการติดตามผล และองค์ประกอบที่ 3 ผลผลิตหรือผลลัพธ์ ได้แก่ กิจกรรม<br />
ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในการจัดการทรัพยากรโดยชุมชนบริเวณชายฝั่งปากบารา ซึ่งประกอบไปด้วย<br />
กิจกรรมการวางซั้งกอ (บ้านปลา) วิสาหกิจชุมชนร้านคนจับปลา ธนาคารปูม้า และกิจกรรมการปล่อย<br />
พันธุ์สัตว์น้ำ<br />
2. แนวทางการจัดการทรัพยากรสัตว์น้ำโดยชุมชน บริเวณชายฝั่งปากบารา<br />
อำเภอละงู จังหวัดสตูล มีดังนี้ 1) การส่งเสริมการให้ความรู้ และสร้างความตระหนักในการการ<br />
จัดการทรัพยากรสัตว์น้ำในชุมชน 2) การส่งเสริมการรวมกลุ่มอนุรักษ์ และการส่งเสริมการมีส่วนร่วม<br />
ของชุมชนในการจัดการทรัพยากรในชุมชน 3) การส่งเสริมนักอนุรักษ์รุ่นใหม่ ด้วยสร้างจิตสำนึกให้<br />
เยาวชนมีใจรักและหวงแหนทรัพยากรในชุมชน 4) การเฝ้าระวัง การอนุรักษ์ และการพื้นฟู ทรัพยากร<br />
ในชุมชน และ 5) ส่งเสริมการนำภูมิปัญญาพื้นบ้านมาใช้ในงานอนุรักษ์<br />
The purposes of this research were to find out and to propose the<br />
guidelines of the Community-based Aquatic Animal Resource Management in Pakbara<br />
Coastal Area, La-ngu District, Satun Province affecting for sustainable of the resources<br />
management in this community. This research uses qualitative method, data<br />
collection through the selected sample 34 volunteers were included as a sample by<br />
studying for key informant documents and implicated researches, In-depth interview,<br />
and focus group discussion. This study has been taken for analyzing, understanding<br />
to the content, classification and synthesis. The results of the study were as follows:<br />
1. Management of the Community-based Aquatic Animal Resource<br />
Management in Pakbara Coastal Area, La-ngu District, Satun Province, Thailand<br />
consisted of 3 factors namely; 1 an input factor were that 1) the generality of coastal<br />
resource in community: mangrove forest resource, sea grass resource, coral reef<br />
resource, and aquatic animals resource. 2) the rules of sharing resources in the<br />
community : the rules of sharing resources in Sang-Kor (fish aggregative device<br />
(FADs)), the rules of small and micro community enterprise of fisher folk and the<br />
rules of blue swimming crab bank. 3) the community and resources management<br />
consisted of Man, Money, Material and management. 2 The management process of<br />
community participation in management of coastal resources: participation in plan,<br />
participation in implementation, participation in benefit sharing and participation in<br />
evalution. 3) outputs/outcomes were as activities about aquatic animals resource<br />
management in Pakbara coastal area by Pak Nam community, La-ngu district, Satun<br />
province were that making fish aggregative device (FADs) activities, ,small and micro<br />
community enterprise of fisher folk, blue swimming crab bank and release of aquatic<br />
animals activities<br />
2. The guidelines for the Community-based Aquatic Animal Resource<br />
Management in Pakbara Coastal Area, La-ngu District, Satun Province were: 1)<br />
supporting implicated knowledge and instilling awareness for aquatic animals<br />
resource in the community, 2) supporting people group in the community to join for<br />
protecting and participating the resources management, 3) supporting new<br />
conservator generations by creating awareness to persons who was extremely fond<br />
of nature and cherishing the resources in the community, 4) watch, protection and<br />
conservation, and rehabilitation the resources in the community, and 5) supporting<br />
folk wisdom to be existence in the community. This study helps verify the working<br />
processes of aquatic animals resource management in Pakbara coastal area by Pak<br />
Nam community, La-ngu district, Satun province to become more efficient.<br />
|